สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute
NDSI- RASS
ระบบสืบค้นงานวิจัยและวิชาการ
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
คู่มือใช้งาน
Logout
Search
ค้นหา
Category
แสดงตามประเภท
แสดงทั้งหมด
งานวิจัย
งานวิชาการ
งานนวัตกรรม
เอกสารประกอบการศึกษาตามหลักสูตร
อื่น ๆ
แสดงตามปี
ปี พ.ศ. 2567
ปี พ.ศ. 2566
ปี พ.ศ. 2565
ปี พ.ศ. 2564
ปี พ.ศ. 2563
ปี พ.ศ. 2562
ปี พ.ศ. 2561
ปี พ.ศ. 2560
ปี พ.ศ. 2559
ปี พ.ศ. 2558
ปี พ.ศ. 2557
ปี พ.ศ. 2556
ปี พ.ศ. 2555
ปี พ.ศ. 2554
ปี พ.ศ. 2553
ปี พ.ศ. 2552
ปี พ.ศ. 2551
ปี พ.ศ. 2550
ปี พ.ศ. 2549
ปี พ.ศ. 2548
ปี พ.ศ. 2547
ปี พ.ศ. 2546
แสดงตามหน่วยงาน
แสดงทั้งหมด
สปท.
วปอ.สปท.
วสท.สปท.
สจว.สปท.
ศศย.สปท.
รร.ตท.สปท.
รร.ชท.สปท.
สศท.สปท.
แสดงตามสภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์
แสดงทั้งหมด
Social-Psychology
Science and Technology
Economics
Strategy
Politics
Military
Education
Diplomacy
Information
Environment
not specified
แสดงตามหลักสูตรต่าง ๆ
แสดงทั้งหมด
หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร
หลักสูตรผู้นำพอเพียงด้านความมั่นคง
หลักสูตรเสนาธิการทหาร
หลักสูตรเสนาธิการร่วม
หลักสูตรนายทหารอาวุโส บก.ทท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง
หลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ผู้บริหาร
หลักสูตรนักยุทธศาสตร์
หลักสูตร รร.ตท.สปท.
หลักสูตร รร.ชท.สปท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่งคง สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานิ (สจว.สพฐ.
อื่น ๆ
Readed :
018534
Today :
000197
Total :
047637
Download :
000058
เรื่อง:
การพัฒนาตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนนายเรืออากาศ ปีการศึกษา 2555
Download
Open PDF
E-Book
หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. ปริพนธ์ สุขพิมาย
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2552
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : การพฒั นาตวับ่งช้ีการประกนัคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนนายเรืออากาศ ปี การศึกษา ๒๕๕๕ โดย : นาวาอากาศเอกเอก ปริพนธ์ สุขพิมาย สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก (พิษณุ เอกระ) สิงหาคม ๒๕๕๔ กองบัญชาการกองทัพไทย มีความตระหนักและมุ่งพัฒนาระบบประกันคุณภาพ การศึกษาอย่างต่อเนื่อง ตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๒ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒)พ.ศ.๒๕๔๕ หมวดที่ ๖ ว่าด้วยมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ก าหนดให้ มีการประกันคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายในและระบบ การประกันคุณภาพภายนอก โรงเรียนนายเรืออากาศได้ตอบสนองนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาของรัฐบาล แต่จากการรายงานผลการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาของส านักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ปรากฎว่าบางมาตรฐานของการประเมินการประกันคุณภาพ ภายนอกโดย สมศ.อยู่ในเกณฑ์พอใช้และไม่มีมาตรฐานที่แสดงความเป็ นสถาบันการศึกษาเฉพาะทาง ทางการทหาร แต่โรงเรียนเหล่าทัพ จา เป็นต้องปฏิบัติเนื่องจากเป็นมาตรฐานและตัวบ่งช้ีที่ใช้ ประเมินคุณภาพในสถาบันอุดมศึกษาเหมือนกันหมด ท าให้ผลการประเมินของโรงเรียนเหล่าทัพ ในบางมาตรฐานของ สมศ. ยังไม่เป็นที่น่าพอใจ วัตถุประสงค์ของเอกสารวิจยัฉบบั น้ีจดั ทา ข้ึนเพื่อศึกษาระบบประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษาของโรงเรียนนายเรืออากาศ และเพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างโรงเรียนนายเรือ อากาศกับสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่สังกัดทบวงมหาวิทยาลัยในเรื่องของระบบประกันคุณภาพการศึกษา วัตถุประสงค์อีกประการหนึ่งคือ เพื่อพัฒนาตัวบ่งช้ีการประกันคุณภาพการศึกษา ของโรงเรียนนายเรืออากาศ ให้แสดงความเป็นอัตลักษณ์เฉพาะสถาบันการศึกษาทางทหาร การวิจัยคร้ังน้ีเป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิเคราะห์เชิงพรรณนาโดยใช้ข้อมูล ปฐมภูมิ จากการสัมภาษณ์บุคคลที่เชี่ยวชาญด้านการประกันคุณภาพการศึกษา และใช้ข้อมูลทุติยภูมิ จากเอกสาร รายงานของท้งัภาครัฐและเอกชน ข้อมูลจาก อินเทอร์เน็ต แนวคิด ทฤษฎีและผลงาน วิจัยที่เกี่ยวข้องด้านการประกันคุณภาพ ผลการของวิจัยได้สอดคล้องกับสมมติฐานที่ต้งัไวค้ือ มาตรฐานและตวับ่งช้ีการประกัน คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนนายเรืออากาศควรแสดงความเป็ นอัตลักษณ์ของสถาบันการศึกษา ทางทหารระดับอุดมศึกษา ผลการวิเคราะห์ได้ช้ีให้เห็นว่ามาตรฐานและตวับ่งช้ีการประกนัคุณภาพ การศึกษาของโรงเรียนนายเรืออากาศ ยังไม่เป็นการแสดงความเป็นอัตลักษณ์ของสถาบันการศึกษา ทางทหารระดบัอุดมศึกษาเนื่องจากเป็นมาตรฐานและตวับ่งช้ีที่ใช้ประเมินคุณภาพสถาบนัอุดมศึกษา เหมือนกันหมดท้งัประเทศ ทา ให้ตวับ่งช้ีบางตวัยงัไม่เหมาะสมที่จะน ามาใช้กับโรงเรียนนายเรือ อากาศ หรือเหล่าทัพ ผู้วิจัยได้น าเสนอแนวทางการพฒั นามาตรฐานและตวับ่งช้ีการประกนัคุณภาพการศึกษา ของโรงเรียนนายเรืออากาศ เพื่อแสดงความเป็ นอัตลักษณ์ของโรงเรียนเหล่าทัพต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ มาตรฐานด้านการพัฒนาภาวะผู้น าทางทหาร การปลูกฝังความเป็ นทหารอาชีพ มาตรฐานด้าน การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมไทย ขนบธรรมเนียมประเพณีทางทหาร ซึ่งเป็ นส่วนที่ส าคัญที่สุด ของการเป็ นสถาบันการศึกษาทางทหารระดับอุดมศึกษา เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทาง การรับราชการของผู้ส าเร็จจากสถานศึกษาของโรงเรียนนายเรืออากาศ ผู้ที่ส าเร็จการศึกษาจะได้รับ การบรรจุเข้ารับราชการในนายทหารสัญญาบัตร หรือเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนการบิน ก าแพงแสน จ.นครปฐม
abstract:
ไม่มี