เรื่อง: การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกำลังพล หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ กองทัพบก
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. บรรเจิด ศิริสนธิ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2552
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : การเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจดัการกา ลงัพล
หน่วยบัญชาการสงคราม กองทัพบก
โดย : พันเอก บรรเจิด ศิริสนธิ
สาขาวิชา : การทหาร
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก
( ขจรฤทธิ์ นิลก าแหง )
กรกฎาคม ๒๕๕๔
การศึกษาวิจัย ในหัวข้อ การเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจดัการกา ลงัพลหน่วยบญั ชาการ
สงครามพิเศษ กองทัพบก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และการ
บริหารจัดการก าลังพล เพื่อศึกษาระบบการบริหารจัดการก าลังพลของหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
กองทัพบก และเพื่อนา เสนอแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจดัการกา ลงัพลของหน่วย
บัญชาการสงครามพิเศษกองทัพบก ในห้วง ๕ ปี ข้างหน้า ที่จะเป็ นประโยชน์ต่อการน าไปปรับปรุง
พัฒนาหน่วยรบพิเศษของกองทัพบก ให้มีความเข้มแข็ง และจากปัญหาในด้านก าลังพลของหน่วย
บัญชาการสงครามพิเศษ ซึ่งประกอบด้วยระบบที่เกี่ยวข้องคือระบบการสรรหา การคัดเลือก การ
หมุนเวียน การปลดถ่ายก าลังพล
การวิจัยเรื่องน้ีเป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)แบบการวิจัยเชิงเอกสาร
(Documentary Research) ส าหรับการศึกษาข้อมูลปฐมภูมิ(PrimaryData) คือข้อมูลที่ได้จากการ
สังเกต การสัมภาษณ์เชิงลึก(In - depth Interview) จากผู้บังคับหน่วยและฝ่ ายเสนาธิการของหน่วย
บัญชาการสงครามพิเศษ ข้อมูลทุติยภูมิ(SecondaryData)คือข้อมูลได้จากการศึกษาค้นคว้าเอกสาร รวมท้งัเอกสารวิจัยของบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย แนวโน้มการบริหารจัดการ
กา ลงัพล นโยบายกฎหมาย ระเบียบ คา สั่ง ในดา้นกา ลงัพลของกองทพั บกรวมท้งัศึกษาทฤษฎีหรือ
แนวความคิดที่เกี่ยวกับหลักการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ หลักการบริหารจัดการก าลังพลของ
กองบญั ชาการกองทพั บก และหลกัการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
ผลการศึกษาวิจัย พบว่า หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ มีความต้องการสรรหาก าลังพล
มาบรรจุเพิ่มเติมในหน่วย โดยเฉพาะกา ลงัพลประเภทนายทหารช้ันยศร้อยตรีถึงร้อยเอก หน่วย
บญั ชาการสงครามพิเศษต้องเพิ่มการประชาสัมพันธ์หรือการใช้ค่าตอบแทน ในการจูงใจก าลังพล
ให้สมคัรใจมารับราชการในหน่วยให้มากข้ึน โดยเนน้ ที่โรงเรียนหลัก การคดัเลือกกา ลงัพลน้ัน
ปัจจุบันหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ ยังไม่มีหลักสูตรการคัดเลือกก าลังพล เพื่อมาบรรจุในหน่วย
ท าให้ได้ก าลังพลที่มีขีดความสามารถไม่ตรงตามที่หน่วยต้องการ จึงได้ข้อสรุปว่า ควรมีหลักสูตร
การคัดเลือกก าลังพล โดยมีความมุ่งหมายเพื่อทดสอบสภาพร่างกาย/จิตใจ และเพื่อค้นหาขีด
ความสามารถของก าลังพลว่ามีความเหมาะสมที่จะบรรจุในหน่วยใด การหมุนเวียนก าลังพลภายใน
หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ ในปัจจุบันยังไม่เป็นรูปธรรมเพราะขาดความต่อเนื่องของนโยบาย
ส่วนการหมุนเวียนก าลังพลออกนอกหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษไม่สามารถท าได้ เพราะ
กองทัพบกไม่มีอัตรารองรับ การปลดถ่ายก าลังพลออกจากหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษในปัจจุบัน
คือ การลาออกจากราชการก่อนเกษียณอายุราชการเป็นส่วนใหญ่ นอกจากน้นัยงัพบปัญหาที่ส าคญั
คือ การขาดแคลนกา ลงัพลนายทหารช้นัยศร้อยตรีถึงร้อยเอกของส่วนกา ลงัรบ และกา ลงัพลอายุ
มากกว่า ๔๕ ปี เป็นจ านวนมาก
ข้อเสนอแนะแนวทางในการสร้างความรู้ความเข้าใจใน การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร
จัดการก าลังพลในเรื่องการสรรหา การคัดเลือก การหมุนเวียน และการปลดถ่ายของก าลังพล
หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษเป็นระบบที่ต่อเนื่องกัน ที่จะท าให้เกิดมิติใหม่ส าหรับความพร้อมรบ
และการมีประสิทธิภาพสูงสุดของก าลังพลหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ อย่างไรก็ตามต้องขอ
ความเห็นชอบจากกองทัพบกและกระทรวงกลาโหม ให้เห็นความส าคัญเพราะการด าเนินการตาม
แนวทางดังกล่าวย่อมส่งผลกระทบต่อการบริหารจัดการก าลังพลในภาพรวมของกองทัพบก
โดยเฉพาะการปลดถ่ายก าลังพลออกจากหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษเมื่ออายุ ๕๐ ปี เป็นเรื่อง
ส าคัญที่จะต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ เพื่อให้มิให้เกิดผลกระทบต่อขวัญและก าลังใจของก าลังพล
ของกองทัพบก ABSTRACT
Tittle : The enhancing of the efficiency personnel management
system of theSpecial Warfare Command,
Royal Thai Army
By : Colonel Buncherd Sirisonti
Major Field : Military
Research Advisor : Colonel
( Kajohnrit Nilkamhaeng)
July2011
Research on the The enhancing of the efficiency personnel management system of the
Special Warfare Command,Royal Thai Army has objectives on study in human resource
management and personnel management, personnel management of the Special Warfare
Command, and then demonstrates guideline for the enhancement of personnel management for
the Special Warfare Command in the next 5 years. This should benefit for the special warfare
command in developing unit by using these inside perspective of personnel problems which are
recruitment system, selection system, rotation system and retirement system.
This research is qualitative research and document research which gather primary data
by using indepth interview on commanders and staff from special warfare command. The
secondaty data was collected by analysing personnel research and related organization’s
documents which composed of personnel mamagement trends, policies, laws, regulations orders of Royal Thai Army. Furthermore, theories and human resource concepts including with
personnel management concept for the Royal Thai Army and enhancing concept of human
resource management are also the topics of interest.
The research shows that Special warfare Command needs more recruitment, especially
on the rank of first lieutenant to captain. Public relations and compensation are the motivation for
candidates to volunteer to join in this unit, focus on candidates that graduated from
Chulachomkloa Royal Military Academy. For the selection system, Sepecial Warfare Command
does not have course for personnel selection. This results on assign personnel with incorrect
capbilities to the unit. Therefore, the course for personnel selection must be created. Not only for
physical test but also mental test, by search and screening, this gives an opportunity for Special
Warfare Command to put the suitable candidates, who have suitable capabilities, in the suitable
units. Personnel rotations in Special Warfare Command are not concrete by the lack on continuous of
the policies. External rotation is unimplementable because the Royal Thai Army does not have any
available position for that. Retirement in Sepecial Warfare Command is usually done by motivating
personnel in early retired campaign and this leads to the major problems in the shortage of personnel
in the rank of first lieutenant to captain in combat units and there are vast nuber of personnel that older
than 45.
Researcher recommends that to enhance the personnel mamagement for Special Warfare
Command is to consider recruitment selection rotation and retirement as a continuous system.
This should give new dimension of combat readiness and the most effective personnel capabilities
of the Special Warfare Command. However, this new methodokygy will effect directly on overall
personnel management of the Royal Thai Army, especially on retired personnel from Special
Warfare Command with the age of 50. This is a sensitive issue that should be carfully considered
not to effect on reducing in morale of Royal Thai Army’s personnel.
abstract:
ไม่มี