เรื่อง: การศึกษาเปรียบเทียบการลงโทษทางวินัยของข้าราชการฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร เฉพาะกรณี การสอบสวนทางวินัย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. ดิษฐ์พล ออเขาย้อย
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2552
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : การศึกษาเปรียบเทียบการลงโทษทางวินัยของข้าราชการฝ่ ายพลเรือน
และฝ่ ายทหาร เฉพาะกรณี การสอบสวนทางวินัย
โดย : นาวาอากาศเอก ดิษฐ์พล ออเขาย้อย
สาขาวิชา : การทหาร
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก
(อุนฤทธิ์ นวลอนงค์)
กรกฎาคม ๒๕๕๔
เอกสารวิจัยฉบับน้ีมีความมุ่งหมายที่จะศึกษาเปรียบเทียบการลงโทษทางวินัยของ
ข้าราชการฝ่ ายพลเรือนและฝ่ ายทหาร เฉพาะกรณี การสอบสวนทางวินัย เมื่อรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย ได้บัญญัติคุ้มครองสิทธิเสรีภาพตามหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์เป็ นประมุข และการปฏิบัติของฝ่ ายบริหารต้องยึดหลักนิติธรรม นิติรัฐ คือเป็ น
การปฏิบัติโดยยึดหลกักฎหมาย กฎหมายน้ัน ต้องถูกตราข้ึนโดยฝ่ายนิติบญั ญัติ และถูกตรวจสอบ
การปฏิบตัิโดยองค์กรตุลาการ ดังน้ัน การด าเนินการในกระบวนการทางวินัย ซึ่งเป็ นการปฏิบัติทาง
ปกครอง จึงต้องถูกตรวจสอบโดยองค์กรตุลาการด้วย ปัจจุบันระบบศาลไทย เป็ นระบบศาลคู่ คือมี
ศาลยุติธรรมและศาลปกครองโดยศาลปกครองมีอ านาจพิจารณาพิพากษาหรือมีค าสั่งเกี่ยวกับข้อ
พิพาททางปกครอง ซึ่งการลงโทษทางวินัย ก็เป็ นการกระท าทางปกครองอย่างหนึ่ง จึงต้องปฏิบัติตาม
รูปแบบ ข้นั ตอน และวิธีการที่ก าหนดในกฎหมาย เมื่อ พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.
๒๕๓๙ มีผลบังคับใช้ ศาลปกครอง จะใช้ พ.ร.บ. ดังกล่าว ตรวจสอบความชอบในการปฏิบัติราชการ
และถือว่า พ.ร.บ.ดังกล่าว เป็ นกฎหมายกลาง บทบัญญัติกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการ ฉบับใดมี
หลักเกณฑ์ประกันความเป็ นธรรม หรือมีมาตรฐานการปฏิบัติราชการต ่ากว่า พ.ร.บ. ดังกล่าว ก็ต้อง
ปรับหลักวิธีปฏิบัติที่ก าหนดใน พ.ร.บ. เฉพาะน้นั ไปใช้หลักวิธีปฏิบัติที่ก าหนดใน พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติ
ราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ แทน ขณะน้ีกระบวนการด าเนินการทางวินัยของข้าราชการฝ่ าย
พลเรือน ได้อนุวัติน า พ.ร.บ.ดังกล่าว ไปปรับใช้แล้ว รวมถึงการสอบสวนทางวินัยอันเป็ นการปฏิบัติ
ทางปกครองอย่างหนึ่ง ซึ่ งถือได้ว่าข้าราชการฝ่ ายพลเรือน มีความเสมอภาคกันทางกฎหมาย และใช้สิทธิทางศาลปกครอง ท าการตรวจสอบการกระท าของฝ่ ายปกครอง เพื่อป้องกันมิให้ใช้อ านาจตาม
อ าเภอใจ
ส าหรับกระบวนการด าเนินการทางวินัยของข้าราชการฝ่ ายทหารแล้ว ตกอยู่ภายใต้บังคับ
ของกฎหมายฝ่ ายทหารโดยเฉพาะ พ.ร.บ.ว่าด้วยวินัยทหาร พุทธศักราช๒๔๗๖ ซึ่ งให้อ านาจ
ผู้บังคับบัญชาใช้ดุลยพินิจในการลงโทษทางวินัย พ.ร.บ.ดังกล่าว ถูกบังคับใช้มานาน ไม่ได้ก าหนด
ข้นั ตอนและรูปแบบในการปฏิบตัิไวอ้ย่างชัดเจน และเป็นที่ทราบกันทวั่ ไปว่าองค์กรทหารน้ัน จะมี
หลักการปฏิบัติเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของทางราชการ ๒ ประการคือ การปฏิบัติทางปกครอง
และการปฏิบัติทางทหารเฉพาะ ดงัน้นั ปัญหาความผิดทางวินัยจึงเกิดมีได้จากการปฏิบัติตามหลกัท้งั
สองประการดังกล่าว เมื่อข้าราชการฝ่ ายทหารก็เป็นคนไทยต้องได้รับการคุ้มครองตามหลักความเสมอ
ภาคกันทางกฎหมายที่ก าหนดในรัฐธรรมนูญ การจะยึดแนวทางการด าเนินการทางวินัยตาม พ.ร.บ.วิธี
ปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ ซึ่งเป็ นกฎหมายกลางที่ข้าราชการฝ่ ายพลเรือนถือปฏิบัติอยู่
เสียท้ังหมด จึงไม่เหมาะสมเพราะการปกครองข้าราชการฝ่ ายทหารต้องมีความเฉียบขาด เนื่องจาก
ทหารเป็นผูถ้ืออาวุธในการรักษาความมนั่ คงของประเทศ ซ่ึงต่างจากขา้ราชการฝ่ายพลเรือน คร้ันจะไม่
ถือปฏิบัติเลย ข้าราชการฝ่ ายทหารก็จะไม่ได้รับการปฏิบัติตามหลักนิติรัฐ นิติธรรม ที่คนไทยต้อง
ได้รับการปฏิบัติทางกฎหมายที่เท่าเทียมกัน และเสมอภาคกันทางกฎหมาย
การที่จะอนุวัติน า พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ ไปใช้ในกระบวนการ
ด าเนินการทางวินัยข้าราชการฝ่ ายทหารได้หรือไม่เพียงใด ต้องไม่ขัดหลักกฎหมายและเป็ นธรรมแก่
กรณีผลการวิจัยเล่มน้ีได้ศึกษาจากแนวคา พิพากษาศาลยุติธรรมและศาลปกครอง ในประเด็นข้อ
กฎหมายเกี่ยวกับการปฏิบตัิราชการของขา้ราชการฝ่ายทหาร พบว่าข้นั ตอนการสอบสวนทางวินยัเป็น
ข้นั ตอนที่ส าคญั ที่สามารถแยกการปฏิบัติราชการของข้าราชการฝ่ ายทหารได้เป็น ๒ ประการ คือ การ
ปฏิบตัิทางปกครองทวั่ ไป และการปฏิบตัิทางทหารเฉพาะ ซ่ึงเฉพาะการปฏิบัติทางปกครองทวั่ ไป ของ
ข้าราชการฝ่ ายทหารเท่าน้ัน สามารถฟ้องต่อศาลยุติธรรมเมื่อมีขอ้พิพาทเกิดข้ึน และศาลยุติธรรมก็จะ
ใช้ พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ ตรวจสอบความชอบในการกระท าทางปกครอง
ของข้าราชการฝ่ ายทหาร โดยไม่ก้าวล่วงดุลยพินิจก าหนดโทษ ที่อยู่ในแดนสิทธิของฝ่ ายปกครอง ผล
การศึกษาเปรียบเทียบการลงโทษทางวินัยของข้าราชการฝ่ ายพลเรือนและฝ่ ายทหาร เฉพาะกรณีการ
สอบสวนทางวินัย พบว่า เมื่อ พ.ร.บ. ว่าด้วยวินัยทหาร พุทธศักราช๒๔๗๖ มิได้ก าหนดวิธีการ และ
ข้นั ตอนการสอบสวนไวเ้ป็นการเฉพาะจึงต้องใชว้ิธีการและข้นั ตอนการสอบสวนที่กา หนดใน พ.ร.บ.
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ ที่ข้าราชการฝ่ ายพลเรือนถือปฏิบัติอยู่ มาปรับใช้ ส่วนการ
พิจารณาโทษ การร้องทุกข์ และอุทธรณ์ ยังคงใช้ พ.ร.บ.ว่าด้วยวินัยทหาร พุทธศักราช ๒๔๗๖ เพราะ
เป็นกรณีที่กฎหมายบัญญัติไว้เป็ นการเฉพาะแล้ว เข้าข้อยกเว้นไม่ต้องน า พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทาง
ปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ มาใช้ ท้ังน้ีมาตรา ๓ วรรคสอง พ.ร.บ.ฉบับดังกล่าว บัญญัติเป็ นข้อยกเว้น
เอาไว้ ABSTRACT
Title : The comparative study of the punishment procedures between
the civil service and military focusing on the disciplinary
investigation.
By : Group Captain Ditsapon Orkoayoi
Major Field : Military
Research Advisor : Colonel
(Unarit Nualanong)
JULY 2011
This research paper aims to compare the punishment policy between civil
service and military which the focal point will be the investigation of officers’
behavior. According to the Constitution of Kingdom of Thailand, its essential
objective is to protect people’s right and liberties under the constitutional monarchy.
The Executive branch has to hold on to the rule of law which is implemented by
Legislative branch and inspected by Judicial branch. Therefore, the punishment
procedure will be monitored by the Judicial branch also. Currently, Thailand has dual
court system consisting of the Court of Justice and the Administrative Court. The
Administrative Court has power to adjudicate administrative disputes because the
punishment for the misconduct is accountable as one of the administrative orders.
Accordingly, the process or any acts will have to be conducted in line with the
Administrative Procedures Act, B.E. 2539 (1996). This Act is a guide for the
Administrative Court to investigate on the problem which it is also accountable as the central law. For any other law or regulations which are different from this Act need to
change their rules to be consistent with the Act. At present, the Administrative
Procedures Act is applied to the process to conduct the fair and appropriate
adjudication including the investigation on the officers’ behavior. This is important as
it provides the fairness to the civil servants on the rights by law to prevent the
administrative department from abusing its authority.
However, the process to conduct punishment on the military officers has to
follow the Act on Military Discipline B.E. 2476 (1933) which allows the commanders
to take the problems in their own consideration. Such Act has been using for a long
period of time and there has been no specific procedures to be followed. Moreover,
because the military usually has to perform both for administrative work and military
operation, any wrongdoings could take place in both areas. To conduct punishment on
the misbehavior of the military officials, who are also the citizen of Thailand, has to be
in line with what is stated in the Constitution of Kingdom of Thailand. However, the
Act of 1996 is still not suitable to be a core act used on military officers because
military involves with the national security which tougher act is required unlike the
case of civil officers. But to be equal to other Thai citizens on the legislative matter,
the punishment on the military officer is needed by the rule of law.
To enforce the Administrative Procedures Act of 1996 on the cases
involving military officers should be considered on the matter of fairness to them.
Accordingly, this study explores thoroughly by focusing on the judgments of the Court
of Justice and Administrative Court as the main tool of the study. From the research,
the findings indicate that the procedure of the investigation for the misconduct can be
divided into 2 realms; the investigation on administrative affair and on military affair.
The military officers who violate issues concerning administrative area will be the
subjects of investigation under the regulation of the Administrative Procedures Act of
1996 and will be tried by the Court of Justice to investigate the behavior of the military officers within the limit of administrative department. The study, however, finds that
there is no certain procedure to investigate the problem in the Military Discipline Act,
therefore, the Administrative Procedures Act, B.E. 2539 (1996) will be used in this
case. However, the trial, appeal and petition will be practiced under the Act on
Military Discipline B.E. 2476 (1933) because there are specific regulations written as
the exception in Article 3 Section 2 as the exceptional case.
abstract:
ไม่มี