เรื่อง: แนวทางในการพัฒนาหลักนิยมด้านการส่งกำลังบำรุงร่วมกองทัพไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. ฐปนรรฆ์ พลเมืองดี
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2552
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : แนวทางในการพัฒนาหลักนิยมด้านการส่งก าลังบ ารุงร่วมกองทัพไทย
โดย : พันเอก ฐปนรรฆ์ พลเมืองดี
สาขาวิชา : การทหาร
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก
(โชคดี เกตสัมพันธ์)
กันยายน ๒๕๕๔
หลักนิยมกองทพัไทยดา้นการส่งกา ลงับา รุงร่วม ฉบบั พ.ศ.๒๕๕๐ ที่ใชอ้ยู่ในปัจจุบนั น้ี
เป็ นฉบับที่ได้รับการปรับปรุงมาจากหลักนิยมกองทัพไทยด้านการส่งก าลังบ ารุงร่วม ฉบับ พ.ศ.
๒๕๔๕ ซึ่งมีหลักการ และข้อความที่ไม่แตกต่างกันมากนัก หลักการส่วนมาก ยังคงมีภาพของ
หลักนิยมที่ได้รับการแปลมาจากหลักนิยมของกองทัพสหรัฐอเมริกา ซึ่ งไม่สามารถน ามาใช้ใน
สังคมทหารของประเทศไทยได้ดีเท่าที่ควร เช่นการจัดดินแดนยามสงคราม หลักนิยมฉบับปัจจุบัน
ไดร้ะบุถึงพ้ืนที่ส่วนหลงัไวต้ามแบบของสหรัฐอเมริกาไม่ผิดเพ้ียน เนื่องจากขอ้จา กดัของพ้ืนที่ของ
ประเทศไทย ซึ่งแตกต่างจากสหรัฐอเมริกา ที่มีพ้ืนที่กวา้งใหญ่และทา การรบนอกประเทศอีกท้งั
ข้อจ ากัดด้านทรัพยากรป้องกันประเทศของไทย จึงเป็ นเรื่องที่ปฏิบัติตามได้ยาก รวมถึงหลักนิยม
ฉบับดังกล่าวน้ีระบบการด าเนินการ การจัดหน่วย และแนวทางในการวางแผน ได้ก าหนดจาก
พ้ืนฐานของพระราชบัญญัติการจัดระเบียบราชการ กห.ฉบับเดิม ในปัจจุบันได้มีการประกาศใช้
พระราชบัญญัติการจัดระเบียบราชการ กห. พ.ศ.๒๕๕๑ แล้ว มีผลให้การจัดหน่วยงานด้านการส่ง
ก าลังบ ารุง และระบบงานบางอย่าง เช่นการระดมสรรพก าลังทางทหาร เปลี่ยนแปลงไป แต่ยังไม่มี
การแก้ไขหลักนิยมดังกล่าวแต่อย่างใด ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าจะมีการศึกษาทบทวน เพื่อพัฒนาหลักนิยม
กองทัพไทยด้านการส่งก าลังบ ารุงร่วม ให้มีความเหมาะสมกับสภาวะการปฏิบัติการร่วมของ
กองทัพไทยต่อไป เอกสารวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา เพื่อศึกษาหลักนิยมด้านการส่งก าลัง
บ ารุงในบริบทต่างๆ รวมถึงศึกษาวิเคราะห์ หลักนิยมกองทัพไทยด้านการส่งก าลังบ ารุงร่วม
ฉบับ พ.ศ.๒๕๕๐ และน าเสนอแนวทางในการพัฒนาหลักนิยมกองทัพไทยด้านการส่งก าลังบ ารุง
ร่วม วิธีด าเนินการวิจัย เป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ แบบพรรณนาเชิงวิเคราะห์ การวิจัยเอกสาร
โดยใช้เอกสารและข้อมูลปฐมภูมิเอกสาร แนวคิด ทฤษฎีทางการบริหารต่าง ๆ รวมท้ังได้
รวบรวมข้อมูล จากการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก บุคลากรผู้ทรงคุณวุฒิ ที่เกี่ยวข้อง
ผลการวิจัย พบว่า หลักนิยมการส่งก าลังบ ารุงร่วมปี ๒๕๓๘ ของสหรัฐอเมริกา
จัดทา ข้ึนเพื่อสนับสนุนการปฏิบตัิตามกรอบกระบวนทศัน์C4I ในการท าสงครามของสหรัฐฯ การ
จัดดินแดน และการด าเนินการต่างๆ เป็นไปเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการท าการรบใช้หลักการรบ
แบบอากาศพ้ืนดิน โดยมีหลกัการต่างๆ ดงัน้ีคือ พ้ืนฐานทวั่ ไป และหลกัการส่งกา ลงับา รุง, หลักการ
และแนวทางในการปฏิบัติ, การวางแผนการส่งก าลังบ ารุงร่วม, การส่งก าลังบ ารุงในการป้องกัน
ประเทศ ส าหรับหลักนิยมกองทัพไทยด้านการส่งก าลังบ ารุงร่วม ฉบับ พ.ศ.๒๕๕๐ มีลักษณะ
เช่นเดียวกับแม่แบบของประเทศสหรัฐฯ ซึ่ งน าไปสู่ข้ันตอนต่าง ๆ ในการดา เนินการสนับสนุน
ทางการส่งก าลังบ ารุงของกองทัพ โดยได้กล่าวถึง หลักการและแนวทางในการปฏิบัติการส่งก าลัง
บ ารุงร่วม การวางแผนการส่งก าลังบ ารุงร่วม และการสนับสนุนของการส่งก าลังบ ารุงในการ
ป้องกันประเทศ ซึ่งแนวคิดในการปรับและพัฒนาหลักการส่งก าลังบ ารุงร่วมของกองทัพไทย ได้ยึด
โครงสร้างของแนวความคิดในการพัฒนาหลักนิยมของสหรัฐฯ ปี ๒๕๕๑ แต่มีการปรับปรุงและแก้ไข
ในรายละเอียดให้เข้ากับบริบทของประเทศไทย โดยมีแนวทางในการพัฒนาหลักนิยมกองทัพไทย
ด้านการส่งก าลังบ ารุงร่วม จ านวน ๔ แนวทาง คือ ๑) การก าหนดแนวความคิดในการส่งก าลัง
บ ารุ งร่ วม ควรก าหนดนโยบายในการส่ งก าลังบ ารุ งร่วมให้ชัดเจน เช่น การก าหนดหน่วย
รับผิดชอบ มอบหมายภารกิจ และงบประมาณในการด าเนินงานตามระบบการส่งก าลังบ ารุงร่วม
๒) การพัฒนาขีดความสามารถในการส่งก าลังบ ารุงร่วม ควรมีการบูรณาการขีดความสามารถ
ทางการส่งก าลังบ ารุงของเหล่าทัพ แล้วน ามาใช้ในการส่งก าลังบ ารุงร่วม เช่น การเชื่อมโยง และ
แลกเปลี่ยนข้อมูลด้านการส่งก าลังบ ารุง ระหว่างเหล่าทัพ การก าหนดมาตรฐานยุทโธปกรณ์ที่ใช้
ร่วม การกา หนดรหัสหรือหมายเลขสิ่งอุปกรณ์ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ๓) การวางแผนการส่ง
ก าลังบ ารุงร่วม ควรก าหนดให้มีคณะกรรมการนโยบายการส่งก าลังบ ารุงร่วม ประกอบด้วย
ผู้บังคับบัญชาระดับสูงของ กห. สป. บก.ทท. และเหล่าทัพ รับผิดชอบในการวางแผนการส่งก าลัง
บ ารุงร่วมระดับยุทธศาสตร์ คณะกรรมการวางแผนการส่งก าลังบ ารุงร่วม รับผิดชอบในการวาง
แผนการส่งก าลังบ ารุงร่วมระดับยุทธการ ประกอบด้วย ผู้แทน กบ.ทหาร กบ.เหล่าทัพและหน่วย
เกี่ยวข้องในสายงาน และ ๔) การปฏิบัติในการส่งก าลังบ ารุงร่วม ก าหนดแนวทางในการปฏิบัติใน
การสนับสนุนทางการส่งก าลังบ ารุงร่วม เช่น การบริการต่างฝ่ าย การบริการรวม และการ
บริการร่วม ให้ชัดเจนABSTRACT
Title : The Development Guideline of the Royal Thai Armed Forces
Joint Logistics Doctrine
By : Colonel Thapanun Polmuangdee
Major Field : Military
Research Advisor : Colonel
(Choakdee Gadesumpun)
September 2011
Joint Logistics Doctrine 2007 of the Royal Thai Armed Forces, which is
used in armed forces nowadays, is developed and improved based on Joint Logistics
Doctrine 2002 of the Royal Thai Armed Forces. The concepts of logistics are the same
as the old doctrine that based on United States of America’s Joint Logistics Doctrine
2007 which is not suitable for Thai context such as Area management. In the doctrine,
the rear area are defined as the rear araea in the US doctrine. There are some different
in the scope of area by the doctrine of both country. By the US doctrine, the areas of
operations are enormous and war operations will definitely occur outside the country.
On the contrary with Thailand doctrine, the areas of operations are small and war
operations will occur on border of the the country. Therefore, the logistics doctrine that use the US model cause troubles when they are used in operations. Furthermore,
operation system, unit organization and planning guidance of this doctrine are defined
by the old Department of defense Act which now changes to Government organized
Act. 2008 that results in changing the organization structure of the logistics units and
logistics systems such as military mobilization, but the doctrine is still the same, not
editing. By all these, there should be review and editing to update the joint logistics
doctrine to fit in Thailand environment and context that have change recently. This
research has three main objectives which are; to study US joint logistics doctrine, the
model of Thailand joint logistics doctrine; to study Thailand joint logistics doctrine
and to propose the develppemenr guideline for joint logistics doctrine for Thailand
context.
This research used Qualitative research methodology that based on
descriptive analysis that used Primary data are from in-depth interview and
researcher’s experience in working with joint logistics and secondary data from
documents concepts theories on the related topics.
The research result shows that the joint logistics doctrine 2002 is built for
supporting the C4I framework. The area management and operations are for
supporting Air-Land Battle concept. The logistics concept have 4 main concepts which
are basic principle and logistics concept, logistics operational concept, joint logistics
planning and defense joint logistics concept. Joint logistics doctrine 2008 is the same
as US model which leads to operate by the joint logistics process that includes logistics
concepts, joint logistics operational concept, joint logistics planning and joint logistics
execution. The guideline for developing joint logistics doctrine for the Royal Thai armed Forces is based on the structure of the US joint logistics doctrine 2008 but
adapts and improves in detail to fit in Thailand context. The proposed guidelines are
separated in 4 categories. Firstly, the policy of joint logistics should be clearly defined
such as assigned the proper unit, mission, and budget for the joint logistics operations.
Secondly, in logistics capabilities, integrate all logistics capabilities in the Royal Thai
Armed Forces to accomplish the logistics mission is the desirable end stage. The
linkage and logistics information transfer among services, defining the joint standard
for equipment and platforms, defining supply code with in the same standard for all
service, all of these concept have to be done in this stage. Thirdly, in joint logistics
planning, the committees should be defined in responsible for each level of joint
logistics. Joint Logistics Policy Committee and set up from High level commander of
DOD, RTARF, and all services which responsible for strategic level joint logistics and
Joint Logistics Planning Committee are set up from logistics representative from
RTARF, all services and related organizations to responsible for joint logistics
planning in operational level.
abstract:
ไม่มี