เรื่อง: การศึกษาบทบาทของสื่อมวลชนที่มีผลกระทบต่อกองทัพในการปฏิบัติภารกิจการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ ห้วงเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2553
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. ชวลิต เอี่ยมแทน
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2552
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : การศึกษาบทบาทของสื่อมวลชนที่มีผลกระทบต่อกองทัพในการปฏิบัติ
ภารกิจการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ ห้วงเดือนมีนาคม –
พฤษภาคม ๒๕๕๓
โดย : พันเอก ชวลิต เอี่ยมแทน
สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา
กรรมการที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก
(กิตติภัค ทองธีรธรรม)
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
จากปัญหาสถานการณ์ประเทศไทยในปัจจุบัน ประชาชนในชาติยังคงมีความแตกแยก
ทางความคิดและการขาดความสามัคคีอย่างรุนแรง ปัจจัยที่ส าคัญคือสื่อมวลชน ที่เป็นเครื่องมือในการ
เร่งเร้าให้การแตกความสามคัคีของคนในชาติเป็นไปอย่างกวา้งขวางและภายในระยะเวลาอนั ส้ัน เนื่องจาก
วิวัฒนาการด้านเทคโนโลยีสื่อเป็นไปอย่างรวดเร็ว หลายทิศทาง และกวา้งไกลมากข้ึน มีการใชสื่อ้
เป็ นเครื่องมือในการแสวงหาแนวร่วมโดยกระบวนการการให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนในหลากหลาย
รูปแบบ อาทิเช่น การท าโฆษณาชวนเชื่อ (Propaganda) การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (Information
Operation) รวมท้งักลยุทธ์ต่างๆมากมายได้ถูกน ามาใช้ โดยอาศัยช่องว่างการขาดกฎหมายควบคุมสื่อ
และการอ้างสิทธิเสรีภาพตามกรอบรัฐธรรมนูญที่ก าหนดไว้ และจากการที่กองทัพได้เข้าไปมีบทบาท
ต่อการปฏิบัติภารกิจรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ ในสถานการณ์การชุมนุมทางการเมือง
ห้วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ๒๕๕๓ ที่ผ่านมา ปรากฏว่าสื่อมวลชนได้เป็ นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงาน
เป็นอย่างมาก ท้งัในประเด็นของการระมัดระวังเพื่อป้องกันมิให้มีภาพปรากฏบนสื่อที่อาจสร้าง
ความเข้าใจผิดให้กับประชาชนที่ได้รับข่าวสาร และการใช้สื่อเป็นเครื่องมือในการปลุกระดม โจมตี
และกล่าวหากองทพั เป็นผูอ้ยู่เบ้ืองหลงัต่อเหตุการณ์ความรุนแรงท้งัหมด ท้งัในเรื่องของการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของสื่อมวลชน
เพื่อศึกษาบทบาทของสื่อมวลชนไทยต่อการน าเสนอข่าวสารในห้วงการชุมนุมทางการเมือง เดือน
มีนาคม -พฤษภาคม ๒๕๕๓ เพื่อศึกษาและวิเคราะห์บทบาทของสื่อมวลชนที่ผลกระทบต่อกองทัพ
ในการปฏิบัติภารกิจการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ และหาแนวทางหรือมาตรการรองรับ
ที่เหมาะสม ส าหรับป้องกันผลกระทบที่เกิดข้ึน หากกรณีที่รัฐบาลจ าเป็นต้องมอบความรับผิดชอบให้
แก่กองทัพในการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศต่อไปในอนาคต
การวิจัยในคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้ข้อมูลปฐมภูมิ
(Primary data) คือขอ้ มูลที่ได้จากการแสดงทศันคติบทสัมภาษณ์ทางสื่อสิ่งพิมพ์การเสวนาทาง
วิชาการของนักวิชาการด้านการสื่อสารมวลชน ผู้แทนสื่อมวลชนจากสถานีโทรทัศน์ สถานีวิทยุ และ
หนังสือพิมพ์ในประเทศไทย รวมถึงสรุปรายงานของหน่วยของกองทัพที่รับผิดชอบการติดตามงานด้าน
สื่อมวลชน และใช้ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) คือ ข่าวสาร (Information) จากแนวคิดทฤษฎี
และผลงาน วิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยค้นคว้าจากแหล่งต่าง ๆ และน าข้อมูลมาวิเคราะห์ข้อมูลในประเด็น
ต่างๆ ได้แก่ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบของสื่อ บทบาทของสื่อมวลชนไทยในการ
น าเสนอข่าวในห้วงการชุมนุมทางการเมือง เดือนมีนาคม-พฤษภาคม ๒๕๕๓ ที่ส่งผลกระทบและ
เป็ นอุปสรรคต่อการปฏิบัติภารกิจของกองทัพ เพื่อหาแนวทางหรือมาตรการการก ากับดูแล
สื่อมวลชนมิให้เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของกองทัพต่อไปในอนาคต
ผลการศึกษาวิจัยพบว่า การน าเสนอข่าวสารของสื่อมวลชนไทยได้ให้ความส าคัญกับ
การรายงานเหตุการณ์และบรรยากาศหรือสถานการณ์ทวั่ ไปของการชุมนุมมากกว่าที่จะรายงานเน้ือหา
สาระของการชุมนุม การขาดซึ่งจิตวิญญาณในบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบ รวมถึงจริยธรรม
ในการน าเสนอข่าวเชิงสร้างสรรค์ หรือการตรวจสอบข้อมูลอย่างถูกต้องก่อนที่จะน าเสนอ บางกรณี
กลายเป็นแนวร่วมโดยไม่รู้ตัวที่น าเสนอข้อมูลเป็นไปตามความต้องการของแกนน ากลุ่มผู้ชุมนุม
ทางการเมือง ซึ่งถือว่าเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาการสร้างความขัดแย้งหรือการแตกความสามัคคีของคนใน
ชาติมากข้ึน และนา ไปสู่ความไม่สงบสุขของบา้นเมือง มีการใช้สื่อนอกระบบหรือสื่อที่จดั ต้งัโดย
ไม่มีกฎหมายรองรับ ในการโฆษณาชวนเชื่อ ชักจูง โน้มน้าว และปลุกระดมมวลชนให้มีความเกลียด
ชังและต่อต้าน การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ ายบ้านเมือง จนเหตุการณ์ลุกลามถึงข้นัการจลาจล และ
ก่อให้เกิดความ เสียหายในทรัพย์สินและชีวิต ในขณะเดียวกันสื่อมวลชนได้เป็นอุปสรรคต่อ
กองทัพ เมื่อจัดก าลังเข้าควบคุมหรือระงับเหตุการณ์ โดยภาพที่ปรากฏในสื่อส่วนใหญ่ได้เกิดผล
กระทบที่ก่อให้ทศันคติทางลบแก่ประชาชนที่ไดร้ับข่าวสาร ท้งัในเรื่องความเสียหายที่เกิดข้ึน และ
การจ ากัดสิทธิเสรีภาพเมื่อมีการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะจากการวิจัย ทางด้านผู้บังคับหน่วยและก าลังพลที่ปฏิบัติหน้าที่โดยตรง
ในการรักษาความสงบเรียบร้อย จ าเป็นต้องมีความเข้าในในธรรมชาติและความต้องการของสื่อมวลชน
ต้องมีความรอบรู้ เท่าทัน และปรับตัวให้พร้อมที่รับมือกบั สื่อมวลชนที่ลงทา ข่าวในพ้ืนที่รับผิดชอบ
และรู้จักการใช้ประโยชน์จากสื่อมวลชนในการน าเสนอข่าวสารที่เป็นผลทางด้านบวก ส าหรับระดับ
นโยบาย ทางกองทัพจะต้องปรับโครงสร้างที่จ าเป็นต้องมีหน่วยงานหรือองค์กรภาคเอกชนที่ท างาน
ด้านสื่อมวลชน เข้ามามีบทบาทและมีส่วนร่วมในการให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และการก ากับดูแล
ท้งัทางดา้นกฎหมายและด้านจริยธรรมของสื่อมวลชน รวมถึงการก าหนดทิศทางในการน าเสนอข้อมูล
ข่าวสารของสื่อมวลชนที่ควรจะเป็น โดยเฉพาะการมุ่งไปสู่ลกัษณะการสร้างสรรค์สังคม การช้ีแจง
ถึงเหตุและผลของเหตุการณ์ที่เกิดข้ึน อย่างไรก็ตาม การวิจัยยังขาดความสมบูรณ์หรือขาดรายละเอียด
ในเรื่องเฉพาะเจาะจงจึงเปิดโอกาสให้ผูส้ นใจสามารถศึกษาคน้ควา้เพิ่มเติมในส่วนที่ตอ้งการพฒั นา
เฉพาะเรื่องหรือเจาะจงต่อไป เช่น วิทยุชุมชน วิทยุโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม และเคเบิลทีวี รวมถึงความ
เหมาะสมของโครงสร้างในระดับนโยบาย ส าหรับการปฏิบัติภารกิจการรักษาความสงบเรียบร้อย
ในสถานการณ์การชุมนุมทางการเมืองต่อไป
abstract:
ABSTRACT
Title : The study ofmass media ‘rolethat influence Armed Force to do mission
to preserve peace in the country period March – May 2010
By : Colonel Chawalit Eiamthan
Major Field :Socio-Psychology
Research Advisor : Colonel
(Kittipuck Thongteerathum)
August 2011
Conflict of thought and lack of unity of the people of Thailand makes
crisis events occurred in Thailand nowadays. The key factor is Mass Media, the
stimulator for disunion which grows more and more in the short period of time. By the
innovation of communication technology which is fast multidimensional and cover on
more wide spread areas, mass media become a tool for alliance seeking by using the
information feeding process to the audience in multi-patterns such as Propaganda and
Information Operations. Many tactics were used through the legal gap or the lack of
laws that regulated on mass media and the citation on rights by the constitutional
framework. Counter insurgency operations by the Royal Thai Army on political
assembly in March – May 2010, mass media became obstacle of the operation in two
main issues which are the caution on the picture that should be on the mass media that
might cause any misunderstanding for the people who received these information, and to
be urging and attacking for accusing that Army is behind all the violence events which
results on losing life and properties of the Thai people.
The objectives of this research is to study on role and responsible of mass media, tostudy on role of Thai mass media in presenting the information about political assembly
in March - May 2010, to study and analyze on role of mass media that effects on the Royal
Thai Army in counter insurgency operation and to define guideline or suitable measures
for protecting the Army on the effect that will occur if the government assigned counter
insurgency mission the future.
This qualitative research used primary data which collect from articles, interview
about mass media on printing media, academic discussion on mass media, mass media
representative from television radio and newspapers in Thailand, secondary data
which collect from theories and related research from various sources then analyze
data in two main issues which are role and responsibility of mass media, role of Thai
mass media in presenting the information about political assembly in March - May
2010 that effects on the Royal Thai Army in counter insurgency operation to define
guideline or suitable measures for protecting the Army on the effect that will occur if
the government assigned counter insurgency mission the future.
The result of the research shows that presentation of mass media of Thailand
has focused reporting on atmosphere or overall of the situation in assembly more than
reporting on the content of the assembly. The lack of ethics andresponsibility in presenting
the creative reporting or even inquire for the truth before presenting, this make the mass
media become tool for the core of the assembly to stimulus in rising up the conflict or
disunion which leads to turmoil in our country. Black media or not legal mass media were
used on propaganda to persuade convince incite the mass with hatred and against the
operation of government agents which will grows to uprising or sabotage which will
damage on life and properties. On the other hands, media became obstacle for Army
when responsible for establishing the task force to control or suspend the events.
Negative attitude of the Army was caused by the pictures which shown on most media.
Besides, legal limitation is the other issues that limit the freedom of the operations.
Commanders and responsible officers of the counter insurgency operations
must understand the nature and needs of mass media. Not only understand the trick but also ready to handle field reporter, the duty officers should know how to gain benefits
by using the mass media to present the positive information. In the policy level, the
Army should restructure the unit by integrating with mass media organization in private
sector to play in the role of providing comments feedback and supervision, both legal
and ethics of mass media, includes defining the presentation directions for the mass
media. Reporting of the mass media should heading toward social creativity presenting
on cause and effect of the events. However, further research on community radio, satellite
television cable television and the suitable structure policy for counter insurgency
operation should be done in the future.