Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: เครื่องมือในการประเมินผลการฝึกปัญหาที่บังคับการ กลุ่มการฝึกด้านยุทธการ การฝึกร่วมกองทัพไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. เกรียงศักดิ์ ใจกล้า
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2552
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : เครื่องมือในการประเมินผลการฝึ กปัญหาที่บังคับการ กลุ่มการฝึ กด้านยุทธการ การฝึ กร่วมกองทัพไทย โดย : พันเอก เกรียงศักดิ์ ใจกล้า สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก (อุนฤทธิ์ นวลอนงค์) สิงหาคม ๒๕๕๔ การวิจัยคร้ังน้ีสืบเนื่องจากปัญหาความสับสนในการตอบค าถามในแบบสอบถาม ซึ่ง เป็ นเครื่องมือในการประเมินผลการฝึ กปัญหาที่บังคับการ กลุ่มการฝึ กด้านยุทธการ การฝึ กร่วม กองทัพไทยของผู้เข้ารับการฝึ ก และปัญหาของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในน าข้อมูลที่ได้ไปด าเนินการ จัดท าสรุปบทเรียนการฝึ กร่วมกองทัพไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบเครื่องมือที่เหมาะสม ส าหรับใช้ในการประเมินผลการฝึ ก โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบการวิจัยเชิงเอกสาร โดยศึกษา ข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการ และข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกต่อผู้ที่เกี่ยวข้องกับการฝึ ก ด้วย ค าถามสัมภาษณ์แบบปลายเปิ ด ผลการศึกษาพบว่า เน้ือหารายละเอียดในขอ้คา ถามยงัขาดความชดั เจน ทา ให้เกิดความ สับสนในการตอบค าถาม และเน้ือหายงัไม่ครอบคลุมถึงหัวข้อในการจัดท าสรุปบทเรียนการฝึ ก ประจ าปี สมควรที่จะปรับปรุงเครื่องมือในการประเมินผลการฝึ กใหม่ ให้เหมาะสมครอบคลุมและ ชัดเจนในการใช้ประเมินต่อไป แบบประเมินผลการฝึ กใหม่ที่ได้จากการวิจัย ได้จัดเรียงหัวข้อค าถามโดยจัดกลุ่ม ค าถามเป็น ๒ ส่วน คือการประเมินการจดัการฝึกและการประเมินตนเองของผูร้ับการฝึกรวมท้งัได้ นา ประเด็นในการจดั ทา สรุปบทเรียนการฝึกมาต้งัเป็นคา ถามในแบบประเมินผลการฝึ กด้วยABSTRACT Title : Evaluation tool for command post exercise, focusing on operations group in the Royal Thai Armed Forces joint warfare exercise By : Colonel Kriengsak Chaikla Major Field : Socio -Psychology Research Advisor : Colonel ( Unarit Nualanong ) August 2011 This research stems from the confusion that is often confronted with by the respondents in answering questionnaire, which is used as a tool for evaluation of the command post exercise (CPX)’s operations group in the joint warfare exercise. Furthermore, another challenge is also faced by relevant staff in compiling the data obtained in order to make a summary of lessons learned from the exercise. This paper aims to design a suitable evaluation tool for the exercise. The method used in this research is qualitative with eventual publication of the research paper. The study is based on academic documents and in-depth interviews with those involved in the exercise, using open-ended questions. The outcome of the study reveals that the questions used in the questionnaire lack their details and clarity, creating confusion for the respondents in answering them. In addition, the details do not cover the agenda for making the report of the summary of lessons learned from the annual exercise. It is therefore recommended that a tool for evaluation be improved to make it clearer and better suit the evaluation needs. The new exercise evaluation form, resulted from this research, has rearranged and regrouped the questions into 2 parts, consisting of the evaluation of exercise organization, and self-evaluation of the exercise participants. Questions to assist in making a summary of the exercise’s lessons learned have also been set and incorporated in the questionnaire.

abstract:

ไม่มี