Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวคิดการพัฒนาการอำนวยการยุทธร่วมกองทัพไทย บทเรียนจากการฝึกคอบร้าโกลด์

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. อภิศักดิ์ สมบัติเจริญนนท์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2551
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : แนวคิดการพัฒนาการอ านวยการยุทธร่วมกองทัพไทย บทเรียนจากการฝึ กคอบร้าโกลด์ โดย : พันเอกอภิศักดิ์ สมบัติเจริญนนท์ สาขาวิชา : การทหาร กรรมการที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก (ชนินทร เฉลิมทรัพย์) กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ในปัจจุบนั ถึงแมว้่าการรบขนาดใหญ่ไม่น่าจะเกิดข้ึน แต่จากสิ่งบอกเหตุและเหตุการณ์ ความขัดแย้งตามแนวชายแดนกับประเทศรอบบ้าน ถ้าหากไม่สามารถบริหารจัดการความขัดแย้ง ด้วยสันติวิธีอย่างได้ผล โอกาสต้องใช้กา ลงัทหารเพื่อการป้องปรามหรือแสดงกา ลงัอาจเป็นสิ่งที่ หลีกเลี่ยงไม่ได้ จากเหตุผลดังกล่าวหากกองทัพไทย มีความจ าเป็นต้องใช้ก าลังทหารเข้าคลี่คลาย ความขัดแย้งและลดความเสียเปรียบฝ่ ายตรงข้ามแล้ว จ าเป็นต้องน าศักยภาพของทุกเหล่าทัพเข้า ปฏิบัติการร่วมกัน (Joint Operation) อย่างประสานสอดคล้องเพื่อเสริมจุดแข็งและลดจุดอ่อนของกัน และกัน อย่างไรก็ตามการปฏิบตัิการร่วมของกองทพัไทย อาจถือไดว้่าเป็นข้นั เริ่มตน้ของการพฒั นา แนวคิดและการปฏิบตัิการเท่าน้ัน ต่างกบักองทพั สหรัฐฯ ซ่ึงมีการพฒั นารูปแบบจนเป็นที่ยอมรับ ของประเทศต่าง ๆ ทวั่ โลก อีกท้งัประเทศไทยเอง ก็ยึดถือกองทพั สหรัฐฯ เป็นตน้แบบในการพฒั นา ทางทหารมาอย่างต่อเนื่อง ผู้วิจัยจึงมีความสนใจศึกษาแนวคิดการพัฒนาการอ านวยการยุทธร่วม ของกองทัพไทย โดยศึกษาเปรียบเทียบกับการอ านวยการยุทธร่วม/ผสมในการฝึ กคอบร้า โกลด์(Cobra Gold) ซึ่งกองทัพไทยและกองก าลงัสหรัฐฯภาคพ้ืนแปซิฟิก ร่วมกันเป็นเจ้าภาพจัดการ ฝึ กอย่างต่อเนื่องทุกปี และถือเป็นเวทีในการเรียนรู้ที่ส าคัญของก าลังพลในกองทัพไทยทุกเหล่าทัพการด าเนินการวิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพแบบวิจัยเอกสาร (Documentary Research) ด้วย การศึกษาเปรียบเทียบการอ านวยการยุทธร่วมของกองทัพไทย กับการอ านวยการยุทธร่วมของกอง ก าลังเฉพาะกิจร่วม/ผสม (Coalition Task Force) ต่อ กองก าลังผสมหลายชาติ (Multinational Forces) ใน การฝึ กคอบร้าโกลด์โดยทา การเก็บรวบรวมขอ้มูลจากเอกสารทางราชการ ระเบียบ คา สั่ง คู่มือ หลัก นิยม ของไทย และเอกสารอ้างอิงในการฝึ กคอบร้าโกลด์ ได้แก่ ระเบียบปฏิบัติประจ าของกองก าลัง นานาชาติ (Multinational Forces Standing Operating Procedure: MNFSOP) ตลอดจนเอกสารวิจัยของ นศ.วสท.รุ่น ๔๖ - ๕๐ ที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาวิจัยพบว่า แนวคิดการอ านวยการยุทธที่ได้จากบทเรียนการฝึ กคอบร้าโกลด์ สามารถน ามาปรับใช้กับการอ านวยการยุทธร่วมของกองทัพไทยได้ ด้วยการก าหนดระดับความ รับผิดชอบ/บทบาทหน้าที่ที่เหมาะสมของที่บัญชาการแต่ละระดับ แบ่งแยกงานเตรียมก าลังและใช้ ก าลังออกจากกัน เนื่องจากงานท้งัสองดา้นตอ้งการการจดั ที่บญั ชาการ/ความช านาญที่แตกต่างกัน พัฒนากระบวนการ/ข้นั ตอนการอา นวยการยุทธร่วมให้ชัดเจน เสริมสร้างขีดความสามารถด้านการ ใช้ก าลัง/หรืองานสนามแก่ฝ่ ายเสนาธิการ/ฝ่ ายอ านวยการของที่บัญชาการที่เกี่ยวข้อง ปรับปรุงการจัด โครงสร้างฝ่ ายเสนาธิการ/ฝ่ ายอ านวยการให้รองรับงานการปฏิบัติการร่วม อย่างไรก็ตามยังต้องการ การศึกษาในรายละเอียดเฉพาะเรื่องอย่างเป็นข้นั ตอน ซ่ึงผูส้ นใจสามารถท าการศึกษาค้นคว้าเพื่อการ พฒั นาการยุทธร่วมให้มีประสิทธิภาพมากข้ึนต่อไป

abstract:

ไม่มี