เรื่อง: แนวทางการเผยแผ่หลักธรรมทางพุทธศาสนา เพื่อการปฏิบัติของข้าราชการกรมการขนส่งทางบก
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. สุทธิเกียรติ หิระนิล
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2551
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : แนวทางการเผยแผ่หลักธรรมทางพุทธศาสนา เพื่อการปฏิบัติของข้าราชการ
กรมการขนส่งทหารบก
โดย : พันเอก สุทธิเกียรติ หิระนิล
สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก
(อุนฤทธิ์ นวลอนงค์)
กรกฎาคม ๒๕๕๓
การศึกษาเรื่อง แนวทางการเผยแผ่หลักธรรมทางพุทธศาสนา เพื่อการปฏิบัติของ
ข้าราชการ กรมการขนส่งทหารบก เพื่อศึกษาปริมาณความเชื่อและการปฏิบัติทางพุทธศาสนา
ในช่วงต่าง ๆ ของแต่ละปัจจัย และผลความแตกต่างของปริมาณความเชื่อและการปฏิบัติทางพุทธ
ศาสนา ตลอดจนแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อและการปฏิบัติทางพุทธศาสนา
ลักษณะส าคัญของชาวพุทธ จะประกอบด้วยความเชื่อทางพุทธศาสนาและการปฏิบัติ
ทางพุทธศาสนาไปพร้อมกัน ความเชื่อทางพุทธศาสนาในที่น้ีจะกล่าวครอบคลุมในข้นั ต้นและข้นั
สูง นั่นคือ เชื่อเรื่องไตรสรณคม คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เชื่อกฎแห่งกรรมว่าทา ดีได้ดี
ทา ชวั่ ไดช้วั่ และการส่งผลของกรรมดีกรรมชวั่ น้นั เชื่อในนิพพานว่ามีจริง เป็นตน้ ส่วนการปฏิบตัิ
ทางพุทธศาสนา เป็ นการปฏิบัติทางศาสนาที่ส าคัญเบ้ืองตน้ ๓ ประการคือ ทาน หมายถึงการให้
การสละ เอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ ประการที่สอง คือศีล หมายถึง การกระท าที่ไม่เบียดเบียนตนเองและ
ผู้อื่น ได้แก่ ศีล ๕ ข้อ เป็ นต้น ประการที่สาม คือ ภาวนา เป็ นการฝึ กจิตใจตนเองให้เกิดปัญญา
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและเห็นแจง้ในสิ่งท้งัหลายตามที่เป็นจริง
ผลการศึกษาพบว่า ความต่างกันระหว่างเพศชายกับเพศหญิง ไม่เป็ นผลให้เกิดความ
แตกต่างในเรื่องความเชื่อและการปฏิบัติทางพุทธศาสนา ปัจจัยอายุในช่วงแรก คือ อายุไม่เกิน ๒๕
ปี มีแนวโน้มความเชื่อสูงกว่าช่วงที่มีอายุมากข้ึน ส่วนการปฏิบัติทางพุทธศาสนาอยู่ในเกณฑ์สูง
เหมือนกัน และความแตกต่างของอายุ ไม่ท าให้เกิดความแตกต่างของความเชื่อและการปฏิบัติทาง
พุทธศาสนา ปัจจัยการศึกษาเมื่อเปรียบเทียบระหว่างการศึกษาต ่ากว่าปริญญาตรีกับปริญญาตรีและสูงกว่า มีปริมาณความเชื่อและการปฏิบัติทางพุทธศาสนาเหมือนกัน ความแตกต่างของการศึกษา
ไม่มีผลให้เกิดความแตกต่างของความเชื่อและการปฏิบัติทางพุทธศาสนา ปัจจัยรายได้ที่แตกต่าง
กัน มีประมาณความเชื่อและการปฏิบัติทางพุทธศาสนาไม่แตกต่างกัน จากจ านวน ๔ ปัจจัยข้างต้น
ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา และรายได้ เมื่อน ามาวิเคราะห์สรุปได้ว่า ข้าราชการกรมการขนส่ง
ทหารบก มีความเชื่อและการปฏิบัติทางพุทธศาสนาไปในทิศทางเดียวกัน ไม่เป็นอุปสรรคในการ
พัฒนาคนและองค์การให้ไปสู่จุดหมายเดียวกันได้ABSTRACT
Title : GUIDELINES FOR TEACHING BUDDHIST PRACTICE
FOR STAFFS AND OFFICERS THE TRANSPORTATION
DEPARTMENT’S OF THE ROYAL THAI ARMY
By : Colonel Suttikiat Hiranil
Major Field : Social -Psychology
Research Advisor : Colonel
(Unarit Nualanong )
July 2010
The study of the factors affecting the religious belief and practice of Thai
Buddhism among the Transportation Department’s of the Royal Thai Army is to study
about the religious belief and practice of Buddhism during various period of cach factor.
Besides, we would like to indicate the relationship between the religious belief and
practice of Thai Buddhism.
The specific characteristic of our Thai Buddhists composed of the religious
belief including the practice of Buddhism at the same time. Thereby, in case of the belief
of Buddhism considered at the elementary and upper level. These belief, we called
“Trisaranakhom” were Buddha, Dhamma and Buddhist monk which believed In “Rules of
Dhamma” meant a good man with good conduct, he will receive good things in return and
of course, a bad one receive bad thing in return. Then, the basic practice of Thai
Buddhism composed of three actions including first, “ Dhan” meant giving, generous
sacrificing or sharing. Second, “Sila” meant having good conduct and discipline and can his living through right livelihood such as 5 Sila. Third. “Phavana” we considered as the
method to practice our mind for understanding, realize and enlighten all actual natural facts.
The results of the study were found that there were no difference of religious
belief and practice of Thai Buddhism between male and female. The trend of belief of
age factor during the first period was not over 25 years and their belief was higher than
upper age group, the practice of Thai Buddhism was at the high level. There was no
difference of religious belief and the practice of Thai Buddhism Between the difference
of age. When we compared the educational factor of three groups among bachelor degree,
lower and upper than bachelor degree, there were the same quantity of religious belief
and the practice of Thai Buddhism. It meant that there was no difference of the
educational factor. The 4 income factor including sex, age, education and income have
caused no difference of religious belief and the practice of Thai Buddhism. Lastly, we can
concluded from our study that the Transportation Department of the Royal Thai Army had
the same direction of religious belief and the practice of Buddhism. There was no
obstacle in the personnel improvement and organization into the specific goal.
abstract:
ไม่มี