เรื่อง: แนวทางการจัดโครงสร้างหน่วย UAV ของกองทัพบกไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. สิงหา สุทธิสมณ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2551
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : แนวทางการจัดโครงสร้างหน่วย UAV ของกองทัพบกไทย
โดย : พันเอก สิงหา สุทธิสมณ์
สาขาวิชา : การทหาร
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก
(ชนินทร เฉลิมทรัพย์)
กรกฎาคม ๒๕๕๓
กองทัพบกได้ด าเนินการจัดหาเครื่องบินตรวจการณ์ขนาดเล็ก โดยไม่ใช้นักบิน (UAV)
เขา้มาทดลองใช้งานเป็นคร้ังแรกต้ังแต่ พ.ศ.๒๕๔๑ ในรุ่น SEARCHER MK I จากบริษัท IAI
MALAT ประเทศอิสราเอล โดยมอบให้ กองพลทหารปื นใหญ่ เป็ นผู้รับผิดชอบใช้งานตาม
วตัถุประสงคท์ างทหาร ซ่ึงไดร้ับผลเป็นที่น่าพอใจมานานนบั ๑๐ ปีกองทพั บกไดจ้ดั หาเพิ่มเติมอีก
คร้ังในปีพ.ศ.๒๕๕๑ เป็นรุ่น SEARCHER MK II จากบริษัทผู้ผลิตเดิม ที่มีการพัฒนาขีด
ความสามารถเพิ่มข้ึนจากรุ่นแรกเขา้มาประจา การ และได้ปรับโอน UAV ท้งัหมดจาก พล.ป. ให้
ศูนย์การบินทหารบก (โดย กองพันบิน) เป็ นผู้รับผิดชอบใช้งาน ควบคุม และผลิตบุคลากรทาง
UAV ทดแทน โดยข้อเท็จจริงแล้วการจัดหน่วย UAV ยังมิได้ก าหนดรูปแบบที่แน่นอน เป็นแต่
เพียงการจัดในรูปแบบเฉพาะกิจ จึงมีความจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะตอ้งมีการกา หนดรูปแบบ โครงสร้าง
การจัดหน่วยให้เป็ นมาตรฐาน เพื่อช่วยเป็ นแนวทางพัฒนา ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หน่วย UAV
ให้อยู่ในสภาวะที่เหมาะสม และอ่อนตัวในการรองรับภารกิจในโอกาสต่อไป
การวิจัยคร้ังน้ีมีวตัถุประสงคเ์พื่อศึกษากา หนดรูปแบบโครงสร้างของหน่วย UAV ซึ่ง
อยู่ในความรับผิดชอบของศูนย์การบินทหารบก ให้มีรูปแบบที่เหมาะสม และสามารถปฏิบัติได้
อย่างอิสระ รูปแบบการวิจัยเป็ นการวิจัยแบบบรรยายเชิงพรรณนา โดยการศึกษาค้นคว้าจาก
เอกสาร คู่มือ ตา รา สิ่งพิมพ์บทความ รวมท้งัจากระเบียบปฏิบตัิประจา (รปจ.) อัตราการจัดก าลัง
พลและยุทโธปกรณ์ (อจย.) ของหน่วยบิน กองทัพบกไทยและต่างประเทศ และรวมถึง
ประสบการณ์จากการปฏิบัติที่ผ่านมาในอดีต เพื่อก่อให้เกิดแนวทางก าหนดรูปแบบของหน่วย
UAV ที่สมบูรณ์แบบและเหมาะสมที่สุดผลสรุปจากการวิจัยโครงสร้างที่เหมาะสมส าหรับหน่วย UAV ที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน
ควรมีขนาดเป็นระดับหมวดบิน เพื่อสนับสนุนโดยตรงต่อ ๑ กองทัพภาค ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ
คือ กองบังคับการหมวด, ตอนธุรการ, ตอนซ่อมบ ารุง และตอนปฏิบัติการ อาจกล่าวได้ว่า
หมวดบิน UAV เป็ นหน่วย UAV ที่เล็กที่สุด ซึ่งจะสามารถปฏิบัติภารกิจได้อย่างอิสระ โดยอยู่
ในกรอบการควบคุมบังคับบัญชาของ กองร้อย UAV
ผลของการวิจัยน้ีอาจน าไปใช้เป็นแนวทางในการกา หนดโครงสร้างการจัดหน่วย
UAV ซึ่งจะบรรลุผลในโอกาสต่อไป อาจมีการพัฒนา ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงบางองค์ประกอบ
เพื่อให้หน่วย UAV รูปแบบใหม่มีความสมบูรณ์ เป็นรูปธรรมและเหมาะสมต่อการปฏิบัติภารกิจ
ต่อไปABSTRACT
Title : The Guideline of the Structural Arrangement UAV of the Royal Thai
Army
By : Colonel Singha Sutthisom
Major Field : Military
Research Advisor : Group Captain
(Chanintorn Chalermsap)
July 2010
In 1998 , The Royal Thai Army has provided the small surveillance
aircraft (called Unmanned Aerial Vehicle ; UAV ) for the first trial, called Model
SEARCHER MKI from IAI MALAT Company, Israel and assigned the Artillery
Division to take responsible in specific mission and using according to the specific
military purpose . Its result was considered satisfaction for the whole 10 years .Then ,
The Royal Thai Army has provided again for the additional application from the
former producer company, called Model SEARCHER MKII , its capability was
improved and working better than the former Model, SEARCHER MKI. Later, the
whole UAV from the Artillery was transferred from Artillery Division to Army
Aviation Center (By Army Aviation Battalion) to take new responsibility, control and
training personnel in the field of UAV to make replacement. Actually, the UAV unit
hasn’t established the definite permanent pattern only apply for the ad hoc mission.
There was the great necessary to form its specific standard pattern, structure and unit
arrangement to be the guideline , improvement and changing UAV Unit to be in the
more suitable condition and flexible to serve various missions in the next opportunity .
The objectives of the research were to study the structural pattern of UAV
Unit which was in the Royal Thai Army Aviation Center. For creating the suitable model and the freedom of operation should be done. This was the descriptive research
through the means of searching and analyzing from involving document such as
manuals, texts, printings and articles and the practical regulation, rate of personnel and
weapons arrangement of the aviation units in the Royal Thai Army and foreign units
including experiences from the past to create the guideline of pattern formation of
UAV efficiently and completely.
The results concluded that the suitable structure for UAV unit in current
action should be formed as the small unit of aviation section to support one Army area
level directly and comprised of commanding, administration, maintenance, and
operation. We can state that UAV unit was the smallest unit and it can operate
missions freely and efficiently in the frame of UAV company commanding . The
results led to the suitable guideline to arrange the UAV unit structure and accomplish
its direct mission in the coming future. Ultimately, the improvement and changing
some factors of the new pattern of UAV unit must be done for concrete result perfectly
and thoroughly as well .
abstract:
ไม่มี