เรื่อง: บทบาทนักการเมืองต่อการสร้างความสมานฉันท์ของประชาชนในประเทศไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, นาย สรชาญ บุญสวัสดิ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2551
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : บทบาทนักการเมืองต่อการสร้างความสมานฉันท์ของประชาชน
ในประเทศไทย
โดย : นาย สรชาญ บุญสวัสดิ์
สาขาวิชา : การเมือง
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก
( ศิริชัย ศศิวรรณพงศ์)
สิงหาคม ๒๕๕๓
ปัจจุบันสถานการณ์ความแตกแยกทางความคิดของประชาชนในประเทศไทย ได้ทวี
ความรุนแรงเพิ่มข้ึนยากต่อการแกไ้ขปัญหาเพื่อให้เกิดความสมานฉันท์ของคนในชาติ ซ่ึงปัญหา
ดังกล่าวส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพของรัฐบาล เศรษฐกิจ และสังคมโดยรวมของชาติ ปัญหาเริ่มมา
ก่อนหนา้น้ีแต่รุนแรงและชดัเจนหลังการยึดอ านาจการปกครอง เมื่อ ๑๙ ก.ย.๔๙ เป็นต้นมา โดยมี
บุคคล กลุ่มบุคคล องค์กรเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้อง แต่บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่มีบทบาทเกี่ยวข้องโดยตรง
และมีส่วนส าคญั ต่อการแกไ้ขและหรือสร้างความแตกแยก ท้งัในเชิงนโยบายและกิจกรรมทางการ
เมืองที่ชัดเจน คือ นักการเมือง
จากปัญหาความแตกแยกทางความคิดของประชาชนในประเทศไทย ที่ยังไม่สามารถ
แก้ไขหรือลดระดับความรุนแรงลง จึงเป็นเรื่องส าคัญควรที่จะท าการศึกษาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
ศึกษาถึงอ านาจ หน้าที่ และบทบาทของนักการเมือง ที่เกี่ยวข้องกับความสมานฉันท์ของประชาชน
รวมท้งัศึกษาผลกระทบจากบทบาทของนักการเมืองต่อความสมานฉันทข์องประชาชน พร้อม
เสนอแนะแนวทางต่อนักการเมือง เพื่อน าไปใช้ในการสร้างความสมานฉันท์ของประชาชน
การวิจัยมีขอบเขตการศึกษาวิเคราะห์อ านาจหน้าที่ของนักการเมืองระดับชาติ ตาม
รัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๕๐ และตามพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์สถานการณ์ทางการเมือง
และบทบาทของนักการเมืองระดับชาติ ที่เกี่ยวข้องกับความสมานฉันท์และความแตกแยกของ
ประชาชนในชาติต้งัแต่ พ.ศ.๒๕๔๙ จนถึงปัจจุบัน พร้อมเสนอแนะแนวทางให้ผู้น าหรือผู้ก าหนดยุทธศาสตร์กิจกรรมทางการเมืองของนักการเมืองระดับชาติ น าไปสร้างสรรค์ความสมานฉันท์แก่
ประชาชนในชาติ
การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการศึกษาอิสระ โดยวิเคราะห์จากข้อมูล ข้อเท็จจริง และประสบการณ์
ในหน้าที่ของผู้วิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าว รวมถึง การสอบถาม สัมภาษณ์ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้อง
โดยตรงมาประกอบการวิเคราะห์ข้อมูลพร้อมน าเสนอแนะแนวทางออกเพื่อแก้ไขปัญหาต่อไป
ผลการศึกษาพบว่า สถานการณ์ความแตกแยกทางความคิดในสังคมไทยที่เกดิข้ึนจากอดีต
ถึงปัจจุบันน าไปสู่ความแตกแยกในสังคมไทยเป็นวงกว้าง และยังหาข้อยุติหรือหาผู้น าทางการเมืองเข้า
มาแก้ไขปัญหาพร้อมสร้างความสมานฉันท์ปรองดองได้ ซ่ึงเรื่องน้ีไม่มีใครสามารถให้ค าตอบได้ว่า
เมื่อไหร่ความขดัแยง้จะสิ้นสุดลงและสถานการณ์จะเป็นอย่างไร อย่างไรกต็าม ปัญหาที่เกิดข้ึนโดยมี
การเคลื่อนไหวของกลุ่มหรือสีต่างๆ มีสิ่งบ่งช้ีอย่างชดัเจนว่า นกัการเมืองบางคนมีส่วนเขา้ไปช้ีนา
หรือเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และค่อนข้างจะมีบทบาทเด่นชัด แทนที่จะเป็นที่พึ่งของประชาชนแต่
กลับเป็นผู้จุดชนวนความขัดแย้ง ความแตกร้าวในสังคม และสร้างปัญหาให้บ้านเมือง การแก้ไข
ปัญหาจึงควรเริ่มจากนกัการเมืองก่อน โดยนกัการเมืองต้องมีบทบาทต่อการสร้างความสมานฉันท์
ของประชาชนในประเทศ ไม่ใช่เป็นผูช้้ีนา หรือริเริ่มในการสร้างสถานการณ์ให้เกิดข้ึนเพียงเพื่อหวัง
ผลประโยชน์และอา นาจเท่าน้นั
บทบาทของนักการเมืองต่อการสร้างความสมานฉันท์ของประชาชนในชาติ จึงมี
ความส าคัญต่อการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม การสร้างความรัก ความสามัคคีความสมานฉันท์
และความปรองดองของคนในชาติจะเกิดข้ึนได้ จ าเป็นต้องช่วยกันทุกภาคส่วนเพื่อขับเคลื่อนทุก
ด้านไปพร้อมๆกัน อย่างไรก็ตาม ในฐานะนักการเมืองเป็นผู้แทนของประชาชนและมีส่วนในการ
กา หนดนโยบายของประเทศ ควรเนน้ ย้า สร้างความรักความสามคัคีในชาติและให้ตระหนกัถึงความ
เร่งด่วนของวิกฤตปัญหาบ้านเมือง ผลักดันการด าเนินการของคณะกรรมการฯชุดต่างๆที่เกี่ยวข้อง
กบัการแกไ้ขปัญหาความขดัแยง้ รวมถึงการพิจารณาร้ือฟ้ืนการจดั ทา พ้ืนที่ตน้แบบเพื่อใหเ้กิดความ
สมานฉันทข์องคนในพ้ืนที่ พร้อมขบั เคลื่อนการสร้างเครือข่ายภาคประชาชนในพ้ืนที่ เพื่อสร้างการ
รู้เท่าทันสถานการณ์ การสร้างความสมานฉันท์ การเรียนรู้วัฒนธรรม และความเห็นที่แตกต่างกัน
อย่างเข้าใจ ปลูกจิตส านึกความมนั่ คง ความรักสามคัคี สมานฉันทแ์ละผลประโยชน์ส่วนรวม
รวมถึงการส่งเสริมการสร้างความรู้ความเข้าใจในระบอบประชาธิปไตย การปลูกฝังคุณธรรม
จริยธรรม ความส านึกในหน้าที่ ความรับผิดชอบทางสังคม ความส านึกในความรักชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตริย์นอกจากน้ีนกัการเมืองควรแสดงบทบาทสร้างความเขา้ใจ ท้งัในและนอกรัฐสภา
เพื่อท าให้ประชาชนทุกกลุ่มเข้าใจปัญหาความขัดแย้งอย่างแท้จริง
abstract:
ABSTRACT
Title : The Role of Politicians in Building a National Reconciliation
By : Mr. Sorachan Boonsawad
Major Field : Politics
Research Advisor : Colonel
(Sirichai Sasiwannapong)
August 2010
Thailand public opinion divided in the current situation of Thailand is
increasing and difficult to find the solution for national reconciliation. This problem
affects the economic, the stability of the government and the overall Thai social.
Formation of the problem started for a long time and the violent appear clearer after
the Coup d’Etat on 19 September 2006 by a group of individuals, individual or some
relevant organizations, but a person or group who directly involved to this problem
with the role in both policy and political activities is “the politicians”.
The problem of divided public opinion in Thailand still does not resolve or
reduce. It is important and should be studied; especially, the power, the role and the
authority of politicians related to the reconciliation of Thai people, including the
impact of the role of political to reconcile the national. The Aims of this study is
finding the solution and offering guidance to politicians in order to establish the
national reconciliation.The scope of this research is to analyze the authority of national politicians
from the Constitution Act 2007 and the other related Acts. This research also analyzes
the role of national politicians and the growing divined of Thai people from the year
2006 to present. This research will offer guidance to the Nation leaders or to whom
that may concern in the political and national strategies in order to create the
reconciliation in Thailand.
This research is an independent study from the facts, data analysis and
experiences from the career of the researcher, including from the interview with people
who related directly to the security section. The data were analyzed for finding the
suitable solution to provide and guidance to resolve the problem.
The results of study showed that situation of the division of though in Thai
society start from the movement or group of colors and arising from the past to the
present. There is a clear indication that some politicians have led to or in connection
with the events. Troubleshooting should start from politicians who need to show the
intention to establish a reconciliation of the people in the country in stead of thinking
only their profit and power.
The role of politicians to create a national reconciliation is very important in
creating love and unity to establish the harmony in the nation while all sectors should
drive all aspects together. As a politician representing the people to contribute to
national policy, they should emphasize a unity by building a network with the people.
They should create literacy, learning culture and see the difference in understanding. In
addition, the public interest can promote an understanding of the democracy including
the cultivation of duty ethics, social responsibility, and consciousness of patriotism,
religion and monarchy. All in all, the politicians should understand their role both
inside and outside Parliament to make people understand all segments of real conflicts.