Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาการฝึกความพร้อมรบของ นย. ในการฝึกกองทัพเรือ ในห้วง 4ปีข้างหน้า

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. วีระชัย หลีค้า
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2551
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : แนวทางการพัฒนาการฝึ กความพร้อมรบของ นย. ในการฝึ กกองทัพเรือ ในห้วง ๔ปี ข้างหน้า โดย : นาวาเอกวีระชัย หลีค้า สาขาวิชา : การทหาร อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก (ขจรฤทธิ์ นิลก าแหง ) กรกฎาคม ๒๕๕๓ การวิจยัคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการด าเนินการฝึ กความพร้อมรบของหน่วยบัญชาการ นาวิกโยธิน ศึกษารูปแบบและแนวทางการฝึ กของกองทัพเรือ และแนวทางการพัฒนาการฝึ กความ พร้อมรบ ของหน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน ในห้วง ๔ ข้างหน้า โดยได้ก าหนดปัญหาการวิจัยไว้ว่า แนวทางการบริหารจัดการฝึ กของหน่วยบัญชาการนาวิกโยธินในการเข้าร่วมการฝึ กกองทัพเรือ ประจ าปี ในเรื่องการวางแผนการฝึ ก หน่วยจัดการฝึ ก โครงสร้างการฝึ ก แผนและกรอบการฝึ ก ตลอดจนการฝึ กในปัจจุบันมีความสอดคล้องเพียงพอหรือไม่ งานวิจยัน้ีเป็นการวิจยัเชิงคุณภาพ โดย การวิเคราะห์เอกสารที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องกับการฝึ กรวมท้งัจากการสังเกตของผูว้ิจยั เองที่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องในการฝึ กของ นย. ผลการวิจัยสรุปน้ัน สามารถสนับสนุนการตอบคา ถามการวิจัยที่ผูว้ิจัยได้ต้งัไว้กล่าวคือ ผู้วิจัย ได้ต้งัคา ถามการวิจัยว่า “การบริหารจัดการการฝึ กของ หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน ในการเข้าร่วมการฝึ ก กองทัพเรือประจ าปี ในเรื่อง การวางแผนการฝึ ก หน่วยจัดการฝึก โครงสร้างการจัดการฝึ ก แผนและกรอบ การฝึ ก และการประเมินผลการฝึ ก มีความสอดคล้องเพียงพอหรือไม่” ซึ่งเป็นการตอบค าถามการวิจัย โดย ได้ผลการวิจัยว่า การฝึ กของ หน่วยบัญชาการนาวิกโยธินในการเข้าร่วมการฝึ กกองทัพเรือประจ าปี น้ัน ถึงแม้จะมีการบริหารจัดการให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยได้ แต่ยังไม่สอดคล้องเพียงพอที่จะ บรรลุผลส าเร็จอย่างสมบูรณ์ และได้รับประโยชน์อย่างเต็ม ที่จากการที่เข้ามาร่วมฝึ กแบบบูรณาการ ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรร่วมกัน ภายใต้สถานการณ์เดียวกัน “รบอย่างไรฝึกอย่างน้ัน ปฏิบตัิงาน อย่างไรฝึกอย่างน้นั ” ข้อเสนอแนะ หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน ซึ่งต้องเข้าร่วมการฝึ กกองทัพเรือประจ าปี จ าเป็น จะต้องมีการบริหารจัดการเพิ่มเติม เพื่อให้แต่ละหน่วยสามารถปฏิบัติงานร่วมกันได้ ตามแนวความคิด ด้านกระบวนการจัดการ ที่กล่าวไว้ว่า กระบวนการจัดการจะต้องมีการวางแผน(Planning) เพื่อก าหนด เป้าหมายและแผนการปฏิบัติงาน มีการจัดโครงสร้างหน่วยงาน (Organizing) เพื่อก าหนดหน้าที่ความ รับผิดชอบของหน่วยงาน มีการบังคับบัญชา (Commanding) เพื่อสั่งให้คนหรือหน่วยงานทา งานตามที่ มอบหมาย มีการประสานงาน (Coordinating) เพื่อไม่ให้การท างานก้าวก่ายกัน ประสานงานให้ หน่วยงานและบุคคลท างานโดยราบรื่น ไม่ให้ขัดแย้งกัน และต้องมีการควบคุม (Controlling) ให้ พนกังานปฏิบตัิงานตามหนา้ที่ที่ไดร้ับมอบหมายรวมท้งัตรวจสอบให้ ผลการปฏิบัติงานเป็นไปตาม แผนงานที่กา หนดไวแ้ละแนวความคิดพ้ืนฐานการบริหารทีมงาน กล่าวคือ ทีมงานที่มีประสิทธิภาพ จะจะต้องจัดให้มีการประสานงานกันระหว่างทีมต่าง ๆ ที่ท าหน้าที่ต่างกัน แต่ต้องประสานเชื่อมโยงกัน ดงัน้นั หน่วยบญั ชาการนาวิกโยธิน จึงควรที่จะมีปรับปรุงในด้านต่างๆ ตามแนวทางการพัฒนา คือ การ วางแผนการฝึ ก จะต้องมีการพัฒนาตามแนวนโยบายของผู้บังคับบัญชาให้มีความต่อเนื่องและชัดเจน ง่ายต่อการเตรียมการในการฝึ กของหน่วย มีการก าหนดการวางแผนการฝึ กที่มีความสอดคล้องกับ หัวข้อและขอบเขตการฝึ ก มีการจัดการประชุมวางแผนเฉพาะการประชุมก าหนดแนวความคิดในการ ฝึก การประชุมวางแผนข้นั ตน้ การประชุมวางแผนข้นสุดท้าย และการประชุมผู้บริหารระดับสูงให้ ั สอดคล้องการประชุม ในส่วนของกองอ านวยการฝึ กของกองทพั เรือที่กา หนดข้ึน โดยในส่วนของ หน่วยมีการประชุมเตรียมการล่วงหน้า เพื่อให้ได้กรอบแนวคิดที่เหมาะสมเสนอในการประชุม ตลอดจนมีการจัดหน่วยเข้ารับการฝึ กหน่วยควบคุม และประเมินผลการฝึ กอย่างเหมาะสมและ สอดคล้องกับภารกิจของหน่วย

abstract:

ไม่มี