Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: พัฒนาการขององค์กรข่าวกรองทางทหารของกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกหลังยุคสงครามเย็นจนถึงปัจจุบัน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. เรือรบ เมืองมั่น
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2551
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : พัฒนาการขององค์กรข่าวกรองทางทหารของกลุ่มประเทศเอเชีย ตะวันออกหลังยุคสงครามเย็นจนถึงปัจจุบัน โดย : พันเอก เรือรบ เมืองมั่น สาขาวิชา : การทหาร อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก (ขจรฤทธิ์ นิลก าแหง) กรกฎาคม ๒๕๕๓ นับต้ังแต่สิ้นสุดยุคสงครามเย็นเป็นต้นมา ภัยคุกคามรูปแบบใหม่(non-Traditional Threat) เช่น การก่อการร้ายสากล สาธารณพิบัติภัยขนาดใหญ่และอื่น ๆ ได้ปรากฏและแพร่ขยายไป ในหลายพ้ืนที่ของโลก ขณะที่ภยัคุกคามตามแบบด้งัเดิม (Traditional Threat) ที่แปรสภาพจากภัย คุกคามด้านอุดมการณ์ไปเป็นภัยคุกคามเฉพาะกรณียังคงด ารงอยู่ องค์กรข่าวกรองทางทหารของ ประเทศเอเชียตะวนั ออกโดยเฉพาะอย่างยิ่งจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้และไต้หวัน จึงต้องปรับตัวเพื่อ รับมือกับภัยคุกคามประเภทท้งัสองรูปแบบ วตัถุประสงคก์ ารวิจยัฉบบั น้ีจึงเป็นการศึกษาพัฒนาการ ของระบบงานข่าวกรองของกองทัพของประเทศเอเชียตะวันออกในแง่มุมทางยุทธศาสตร์น ามา ประมวลเป็ นแนวโน้มและทิศทางส าคัญส าหรับการใช้เป็ นกรณีศึกษา เพื่อน าไปประยุกต์ใช้กับ องค์กรข่าวกรองของกองทัพไทยต่อไป ท้ังน้ีได้ศึกษาองค์กรข่าวกรองทางทหารของจีน ญี่ปุ่ น เกาหลีใต้ และไต้หวัน โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ ผ่านทางการค้นคว้าและวิเคราะห์ข้อมูลจาก เอกสารด้านการข่าวของกองทัพประเทศเหล่าน้นั ผลการวิจัยพบว่า ชาติเอเชียตะวันออกได้มุ่งเน้นการสนองตอบต่อภัยคุกคามรูปแบบ ใหม่โดยพัฒนาโครงสร้างและการจัดองค์กรอย่างรวดเร็ว เช่น การให้ความส าคัญแก่ประชาคมข่าว กรอง ขณะเดียวกันยังคงเน้นการรับมือกับภัยคุกคามตามแบบ อันเนื่องจากการคงอยู่ของความ ขัดแย้งระหว่างประเทศเพื่อนบ้าน แนวโน้มทิศทางขององค์กรข่าวกรองในอนาคต คือ หน่วยข่าว กรองทางทหารทุกหน่วยจะเข้าสู่ระบบการท างานร่วม (Joint-ness and Interagency) โดยทุกหน่วย ท างานร่วมกับหน่วยงานอื่นท้งัในและนอกประชาคมข่าวกรองท้งัในและต่างประเทศ ทุกระดับมี๒ การวางแผนร่วมกัน ก าหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบและช่องทางการประสานงานอย่างเป็ นระบบ ท้งัยงัตอ้งเตรียมองค์กรให้พร้อมต่อการปฏิบตัิการที่มิใช่ทหาร ท้งัน้ีองคก์รข่าวกรองทางทหารของ ไทยก็มีแนวโน้มที่จะต้องด าเนินไปในทิศทางดังกล่าว เช่น จัดโครงสร้างองค์กรสอดประสานงาน ท้งยุทธศาสตร์และยุทธการ ั อย่างราบรื่น เพื่อเป็ นการเตรียมความพร้อมส าหรับการเปลี่ยนแปลงที่จะมาถึงอย่างมีประสิทธิภาพ จึงควรมีการศึกษาวิจยัองคก์รข่าวกรองทางทหารของประเทศต่าง ๆ รวมท้งัในเอเชียตะวนัออกอย่าง ละเอียดและต่อเนื่อง ท้งัน้ีขอ้ มูลที่ไดจ้ะสามารถนา ไปประกอบแนวทางการพฒั นาองค์กรข่าวกรอง ทางทหารของไทยที่เหมาะสมกับสภาวะแวดล้อมต่อไปในอนาคต นอกจากน้ีอาจพัฒนา หน่วยงานน าร่องให้สอดคล้องกับแนวโนม้ ที่กา ลงัจะเกิดข้ึน เพื่อเป็นตวัอย่างแก่หน่วยงานอื่นต่อไป

abstract:

Abstract Title : Development of East Asian Countries Intelligence Agencies after the Cold War until the Present Era Name : Colonel RUAROB MUANGMAN Field : Military Advisor : Colonel (KHAJORNRITH NILKAMHAENG) July 2010 Since the end of the Cold War, such non-traditional threats as international terrorism, major public disaster and others have occurred and proliferated over many areas around the world, while the traditional threats changing from ideological threats to be specific ones have still existed. Military intelligence agency of east Asian countries , Particularly China , Japan , South Korea and Taiwan needs to be themselves adjusted for coping with both kinds of threats. The objective of this research is to study the development of east Asian armed forces’ intelligence system in strategic aspects and process them to find a trend and an important direction for case studies which will be applied to the Royal Thai Armed Forces’ intelligence agencies in the future. Military intelligence agencies of China , Japan , South Korea , and Taiwan have been studied through qualitative research by studying and analyzing data from those armed forces’ intelligence documents. The research findings indicate that east Asian countries intelligence agencies emphasize the response to non-traditional threats by rapidly developing the structure and establishing the organization such as giving priority to intelligence community . At the same time they still carry out the fight against traditional threats as a consequence of the existence of conflicts with neighbouring countries. The trend of future intelligence agencies is that all military intelligence units will enter the joint-ness and interagency system. All units will operate with other units both inside and outside intelligence community as well as inside and outside the country. All levels will coordinate planning and determine duties, responsibilities and ๒ coordinating channels systematically. In addition, the agencies need to be prepared for the readiness to conduct any non-military operations. Hence, Thailand’s military intelligence agencies is likely to pursue the mentioned direction such as forming the structure of the agencies in order to synchronized both strategic and operational tasks smoothly. In preparing for the upcoming change with effectively, there will be deliberately, continuously study and research military intelligence agencies, including east Asian countries intelligence agencies. All data can be used for the development of Thailand’s military intelligence agencies that suit for the future context. Besides, there will be set up the pilot agency that act in harmony with the trend, other agencies may develop themselves by the path of the pilot agency.