เรื่อง: แนวทางการส่งเสริมกิจการอุตสาหกรรมป้องกันประเทศบนฐานการผลิตภาคเอกชนในประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. รักชาติ พันธุ์ชาติ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2551
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
เรื่อง : แนวทางการส่งเสริมกิจการอุตสาหกรรมป้องกันประเทศบนฐานการผลิตภาคเอกชน
ในประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง
โดย : น.อ.รักชาติ พันธุ์ชาติ
สาขาวิชา : การทหาร
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาเอกหญิง
(นาฎยา สังข์นิ่ม)
กรกฎาคม ๒๕๕๓
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมากว่าสามทศวรรษที่กิจการอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของไทย
ได้หยั่งรากลึกลง แต่ความเจริญเติบโตที่จะน าไปสู่การพ่ึงพาตนเอง ลดการน าเข้าจาก
ต่างประเทศ ตลอดจนเป็นหลักประกันที่มั่นคงในภาวะฉุกเฉินยังไม่ก้าวหน้าตามเป้าหมาย
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การใช้ฐานการผลิตจากภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม จึงเป็ นจุดสนใจที่ท าให้
ต้องศึกษา ถึงสาเหตุ ข้อจ ากัด ปัญหา อุปสรรค และแสวงหาทางออก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
แสวงหาความร่วมมือในการใช้ภาคเอกชนเป็ นฐานการผลิต เพื่อการพึ่งพาตนเองและขยายผลไปสู่
การแข่งขันเชิงพาณิชย์ในอนาคต
การวิจยัน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักการ และปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม
ป้องกันประเทศ ศึกษาฐานการผลิตอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ของภาคเอกชนในประเทศไทย
ศึกษาแนวทางในการส่งเสริมและเสริมบทบาทให้ภาคเอกชน ต่อการพัฒนากิจการอุตสาหกรรม
ป้องกันประเทศอย่างต่อเนื่อง
ในการศึกษาคร้ังน้ีได้ก าหนดขอบเขตการศึกษาเฉพาะโรงงานของภาคเอกชนที่
จัดตััั้งข้ึนตามพระราชบัญญัติโรงงานผลิตอาวุธของเอกชน พ.ศ. 2550 ประมาณ 8-10 โรงงาน
และโรงงานฐานการผลิตภายใต้คณะกรรมการอุตสาหกรรมประเทศ เป็นหลัก
การวิจัยคร้ังน้ีเป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้การค้นคว้า และรวบรวมข้อมูลจาก
เอกสารต่าง ๆ ท้ังที่เป็นแนวนโยบาย กฎหมาย ค าสั่ง บริษัท/โรงงานตามพระราชบัญญัติโรงงานผลิตอาวุธของเอกชน พ.ศ. 2550 พร้อมผลการด าเนินงาน ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง บทบาท
ของภาคเอกชนในกิจการของรัฐ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ท้ังวิธีการบรรยายเชิงพรรณนา
ตลอดจนประสบการณ์ในการปฏิบัติงานของผู้วิจัย
ผลจากการวิจัยพบว่าปัจจัยต่าง ๆ ท้งัของภาครัฐและเอกชนที่มีผลกระทบต่อการ
พัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศในภาคเอกชน ได้แก่ นโยบายกิจการอุตสาหกรรมป้องกัน
ประเทศ กฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ เป็นข้อจ ากัดในด้านความคล่องตัวในการ
ด าเนินงานของภาคเอกชน ทัศนคติ มุมมองระหว่างภาครัฐและเอกชน ยังไม่มองภาพของ
ผลประโยชน์ของชาติเป็นส่วนรวม และตลาดในส่วนของเหล่าทัพและต ารวจมีจ านวนน้อย ไม่
แน่นอน มีผลกระทบต่อการลงทุนของภาคเอกชน
แนวคิดที่จะพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศภาคเอกชน คือ การด าเนินการร่วมกัน
ระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน โดยตอ้งพิจารณาคา นึงถึงความตอ้งการพ้ืนฐานของภาครัฐและ
ภาคเอกชนเป็นหลักการวิจยัคร้ังน้ีไดเ้สนอขอ้เสนอแนะในการพฒั นาอุตสาหกรรมป้องกนั ประเทศ
ในภาคเอกชน จากแนวคิดดงักล่าวดงัน้ี ควรกา หนดนโยบายให้มีความชัดเจนต่อเนื่องท้งัสอง
ระดับ คือ ระดับนโยบาย และระดับปฏิบัติ ควรมีการปรับปรุงแก้ไข กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
ต่าง ๆ เหล่าทัพควรพิจารณาจัดหาอาวุธยุทโธปกรณ์จากผู้ผลิตในประเทศเป็นอันดับแรก รัฐควร
ก าหนดมาตรการส่งเสริมการลงทุน ตลอดจนการให้สิทธิพิเศษกับภาคเอกชน การปรับทัศนคติของ
ท้งัภาครัฐและภาคเอกชน โดยเปลี่ยนบทบาทของภาครัฐจากการควบคุมตรวจสอบ มาเป็นการให้
การสนับสนุนเกื้อกูล และปรับบทบาทของภาคเอกชน จากผู้ร้องขอมาเป็นผู้ร่วมก าหนดกลยุทธ์
แสวงหาหนทางปฏิบัติ
abstract:
Abstract.
Title : Guideline to continuously promote Thai Defence Industry based on
private sector production.
By : Group Captain Rugchart Punchart
Major Field: Military
Research Advisor : Captain , WRTN
( Narttaya Sangnim )
July , 2010
Though defence industries have been deeply settled for more than 3 decades, the
development for self dependable businesses, import reduction and safety guarantee in emergency
situation does not reach a desirable level. It is necessary to study causes, restrictions, threats of
the stated problem and find out the solutions to increase effectiveness and cooperation from
private sector.
The purposes of this research were to study principles and factors related to defence
industry, study defence industry in private sector, and study the way to continuously promote
defence industry in private sector.
This research was scoped to study 8-10 private manufacturers established according to
Private Weapon Manufacturer Act 2007 and under Defence Industry Committee.
The researcher studied and collected information from secondary data - laws, regulations,
acts, policies and regulations of manufacturers and other documents – related to defence industry
and sufficiency theory. Then use descriptive method herewith researcher’s experience in describe
the analysis.
The result of the research found that factors from both government and private sectors
which impact and restrict defence industry development in private sector are defence industry
policy, laws and regulations. The government and private sector are not focus on national interests. The demand of armed forces and police for weapon and ammunition is low and
uncertain which affect private sector investment.
The recommendation in developing private defence manufacturers is to establish
cooperation between government and private sector by mainly focus on basic needs of both
sides.The government should set policy, in both management level and operation level, about
defence industry clearly and continuously. Rules and regulations related to defence industry
should be reviewed and revised. Weapons produced by domestic manufacturers should be
primarily considered by the armed forces. The government should have policy in supporting
defence industry investment, especially in private sector. The government should change its role
from a controller to a supporter while private sector should change its role from a requester to a
partner.