เรื่อง: แนวทางการพัฒนาระบบการรักษาความปลอดภัยในกองบัญชาการกองทัพอากาศภายในปี 2557
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. ยุทธนา สุรเชษฐพงษ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2551
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : แนวทางการพัฒนาระบบการรักษาความปลอดภัยในกองบัญชาการกองทัพอากาศ
ภายในปี ๒๕๕๗
โดย : นาวาอากาศเอก ยุทธนา สุรเชษฐพงษ์
สาขา : การทหาร
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก
(ประสงค์ จั่นวิลัย)
กรกฎาคม ๒๕๕๓
ในปัจจุบนัรูปแบบของสงครามไดเ้ปลี่ยนไป ในรูปแบบภยัคุกคามท้งัดา้นการจารกรรม
การก่อการร้าย กองทัพอากาศเป็ นส่วนหนึ่งของกองบัญชาการกองทัพไทยที่มีหน้าที่และภารกิจใน
การป้องกันราชอาณาจักร และกองบัญชาการกองทัพอากาศน้ัน เป็นสถานที่ที่ส าคัญของ
กองทัพอากาศ ที่จะต้องใช้เป็นที่บัญชาการของกองทัพอากาศยามเกิดสงคราม นอกจากน้ัน
กองบัญชาการกองทัพอากาศได้จัดลานจอดอากาศยาน กองบัญชาการกองทัพอากาศ เป็ นท่าอากาศ
ยานส าคญั ในการเสด็จพระราชดา เนิน โดยอากาศยานพระที่นั่ง ของพระบาทสมเด็จพระเจา้อยู่หัว
และพระบรมวงศานุวงศท์ ุกพระองค์อีกท้งั พระราชอาคนั ตุกะ และบุคคลส าคัญต่างๆ จึงนับได้ว่า
พ้ืนที่ของกองทพั อากาศ มีความส าคญั อย่างยิ่งในการรักษาความปลอดภยั และจา เป็นต้องดา เนิน
มาตรการ ในการรักษาความปลอดภัยให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
การศึกษาวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาระบบการรักษาความปลอดภัยในกองบัญชาการ
กองทัพอากาศภายในปี ๒๕๕๗ มีจุดมุ่งหมายในการศึกษาถึงผลกระทบในด้านระบบการรักษา
ความปลอดภัยในปัจจุบัน ว่ามีปัญหาหรือข้อบกพร่องใด ๆ เพื่อหาแนวทางพัฒนาระบบและ
มาตรการให้สอดคล้องทันสมัยสามารถป้องกันการจารกรรม การก่อวินาศกรรมที่มีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผล และศึกษาปัจจัยอื่นๆ ที่คาดว่าจะมีผลกระทบต่อระบบการรักษาความปลอดภัย
ของกองบัญชาการกองทัพอากาศ เพื่อน ามาก าหนดการจัดท าระบบการรักษาความปลอดภัยให้เกิด
ความปลอดภัยสูงสุดวิธีด าเนินการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงวิเคราะห์ โดยศึกษาข้อมูลจากระเบียบคา สั่งผลการ
วิเคราะห์ผลการสัมมนา บางส่วนที่มีผลกระทบกระเทือนต่อระบบการรักษาความปลอดภัย และ
การสัมภาษณ์ผูป้ ฏิบตัิงานในทุกระดบั อีกท้งังานวิจยัที่เกี่ยวขอ้ง
ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาด้านการรักษาความปลอดภัยของกองบัญชาการกองทัพอากาศ
มีข้อบกพร่อง โดยได้แบ่งเป็น ๓ ระดับ คือ ปัญหาระดับโครงสร้าง ปัญหาระดับเทคนิคและ
วิชาการ ปัญหาระดับปฏิบัติการ ซึ่งปัญหาระดับโครงสร้างพบว่าเป็นปัญหาที่มีความส าคัญและไม่
สามารถแก้ไขได้โดยล าพังของหน่วยเกี่ยวข้อง หรือเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย โดยจะต้องแก้ไข
โดยระดับนโยบายของผู้บังคับบัญชาช้ันสูง อีกท้ังเกิดจากงบประมาณที่มีอยู่อย่างจ ากัด ของ
กองทัพอากาศเป็ นต้น ส่วนปัญหาระดับเทคนิคและวิชาการน้ัน จัดได้ว่าเป็นปัญหาระดับกลาง
บางปัญหาหน่วยอาจแก้ไขได้ด้วยตนเอง หรือเสนอหน่วยเกี่ยวของ เช่น ระเบียบไม่ทันสมัยต่อ
เทคโนโลยี หรือครอบคลุมไม่ทวั่ ถึงอีกท้งัไม่ชดั เจนต่อการปฏิบตัิเช่น การใชค้อมพิวเตอร์คดัลอก
ข้อมูล จากแผ่นดิสท์ หนึ่งไปยังอีกแผ่นซึ่งเป็ นเอกสารลับ จะมีทางป้องกันอย่างไรและปัญหาใน
ระดับสุดท้ายที่พบก็คือ ปัญหาระดับปฏิบัติการหรือในระดับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ ซึ่งเกิดการปฏิบัติที่
ผิดหรือละเลยการปฏิบัติเป็นต้น
ข้อเสนอแนะเห็นสมควรด าเนินการควบคู่ใน ๒ ลักษณะคือ เชิงนโยบายและการปฏิบัติ
ซ่ึงเชิงนโยบายน้ันเป็นการพฒั นาด้านการปรับโครงสร้างกา ลังรักษาการณ์ให้เหมาะสมและการ
จัดการควบคุมการรักษาความปลอดภยัภายในอีกท้งัมาตรการผ่านเขา้-ออกภายในกองบัญชาการ
กองทพัอากาศในทุกช่องทางอีกลกัษณะคือขอ้เสนอแนะเพื่อการวิจยั โดยนา ปัญหาที่เกิดข้ึนในทุก
ระดับมาวิเคราะห์ เพื่อน ามาพัฒนาระบบและมาตรการรักษาความปลอดภัยของกองบัญชาการ
กองทัพอากาศ ซึ่งได้จากข้อมูลในการสัมภาษณ์ รวบรวมเอกสาร ทบทวนงานวิจัยต่างๆ เพื่อให้
การปรับปรุงแก้ไขได้อย่างเป็นระบบต่อไปABSTRACT
Title : Guidelines to Develop Security Measure at Royal Thai Airforce
Headquarter in 2014
By : Group Captain Yutthana Surachettapong
Major Field : Military
Research Advisor : Group Captain
(Prasong Janvilai)
July 2010
In the recent years the method of warfare has changed including all types of
threats whether its theft or terrorism. Air force headquarters as part of the Royal Thai
Armed Force base is vital to national defense and is an important location to the Air
force which can be used as safekeeping base during war. Furthermore, the Royal Thai
Air Force has organized a platform to secure aircrafts, this naval is significant in
securing the royal family. Therefore, Airforce base is important to safeguarding the
country and thus highest security measures should be developed to ensure successful
protection means.
The purpose of this study is to identify the tribulations and defects of the
current system in order find ways to create more advanced and up to date systems so
we can prevent terrorization that is expected to affect the security system. Consequently, we have to prepare the system to safeguard with maximum security
possible,
The research utilizes analytical method by studying regulations and result
from analysis that has an impact on some parts of the security system. In addition, we
will interview staff from all operational levels that are related to this research.
The outcome of the research has indicated that security measures of the Air
Force is flawed, and divided into three types of tribulations. The three levels of
tribulations include Infrastructure, technical, and operation. The infrastructure is an
important issue and cannot be resolved by an individual but involves all units in the
Airforce and it also needs to comply with the policies set by the highest officers and
must be conducted within the budget allocated. Technical issue is a middle level
problem that it can be solved by an individual.
It is recommended that two parallel approaches, policy and operation levels,
should be applied. For policy level, the development and restructure of the
organization need to be managed. Moreover, the measures of security system of the
RTAF Headquarter need to be controlled. For the future research, the development of
security systems and security measures should be studies by using interviewing
approach and gathering existing information.
abstract:
ไม่มี