Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยควบคุมอากาศยานและแจ้งเตือนกับการปฏิบัติการร่วมทางทหารระหว่างปี 2550-2552

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. พรสิน สารกุล ร.น.
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2551
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยควบคุมอากาศยานและแจ้งเตือนกับ การปฏิบัติการร่วมทางทหารระหว่างปี ๒๕๕๐-๒๕๕๒ โดย : นาวาอากาศเอก พรสิน สารกุล สาขาวิชา : การทหาร อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก ( พิษณุ เอกระ ) กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ การวิจัยเรื่อง “วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยควบคุมอากาศยานและแจ้งเตือน กับการปฏิบัติการร่วมทางทหารระหว่างปี ๒๕๕๐-๒๕๕๒” เป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการ สัมภาษณ์ โดยหน่วยควบคุมอากาศยานและแจ้งเตือนมีภารกิจส าคัญคือการป้องกันทางอากาศ ให้กับประเทศ จึงมีความส าคัญต่อการปฏิบัติการร่วมกับเหล่าทัพในสนามรบเป็ นอย่างมาก หาก หน่วยควบคุมอากาศยานและแจ้งเตือนท างานไม่สมบูรณ์รัศมีการตรวจจับเป้าหมายของเรดาร์ไม่ ครอบคลุมถึงพ้ืนที่ส าคัญในสนามรบ การปฏิบัติการทางอากาศในการโจมตีก าลังขา้ศึกย่อมมี อุปสรรค หากฝ่ายข้าศึกใช้กา ลังทางอากาศโจมตีจะท าให้การสั่งใช้กา ลังทางอากาศสกัดก้ันเกิด ความล่าช้า ท าให้ก าลังฝ่ ายเรามีจุดอ่อนต่อการถูกท าลายจนประสบกับความพ่ายแพ้ในสนามรบได้ ดังน้ันผูว้ิจัยจึงมีความสนใจที่ต้องการศึกษาและวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยควบคุม อากาศยานและแจ้งเตือนกับการปฏิบัติการร่วมทางทหารระหว่างปี ๒๕๕๐- ๒๕๕๒ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ๑.ปัญหาและอุปสรรคหน่วยควบคุมอากาศยานและแจ้งเตือน๒.ปัญหา และอุปสรรคหน่วยควบคุมอากาศยานและแจ้งเตือนกับการปฏิบัติการร่วมทางทหารระหว่างปี ๒๕๕๐- ๒๕๕๒ ๓.วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยควบคุมอากาศยานและแจ้งเตือนกับการ๒ ปฏิบัติการร่วมทางทหารระหว่างปี ๒๕๕๐- ๒๕๕๒ วิธีด าเนินการวิจัย ผู้วิจัยได้ท าการศึกษากับ กลุ่มประชากรที่เกี่ยวข้องกับหน่วยควบคุมอากาศยานและแจ้งเตือน ผู้มีประสบการณ์เกี่ยวข้องกับ การปฏิบัติการร่วมทางทหาร จ านวน ๑๒ คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสัมภาษณ์ เก็บ รวบรวมข้อมูลจากแหล่งส าคัญคือ ข้อมูลปฐมภูมิ เก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์จ านวน ๑๒ คน ข้อมูลทุติยภูมิเก็บข้อมูลจากการวิเคราะห์ เอกสาร รายงาน แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่ เกี่ยวขอ้ง นา ขอ้ มูลท้งัสองส่วนมาจัดระบบให้เป็นหมวดหมู่ท าการศึกษาและวิเคราะห์ให้สอดคล้อง กับวัตถุประสงค์ จากน้นั นา เสนอผลการวิจยัโดยวิธีการพรรณนาวิเคราะห์ ด้วยการอภิปรายผลโดย มีแนวคิด ทฤษฏี งานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาสนับสนุน ผลการวิจัย ปัญหาและอุปสรรคของหน่วยควบคุมอากาศยานและแจ้งเตือนผล การศึกษาพบว่า ๑.เรดาร์ของหน่วยควบคุมอากาศยานและแจ้งเตือนที่มีสภาพที่เก่ามีอายุการใช้งาน มานานเกิน ๑๕ ปี ได้แก่เรดาร์ที่ สถานีรายงานอุบล ฯ, สถานีรายงานอุดร ฯ, สถานีรายงานเขาเขียว (จ.นครนายก) , สถานีรายงานพิษณุโลก ๒.เรดาร์ของหน่วยควบคุมอากาศยานและแจ้งเตือนที่มี ข้อเสียคืออะไหล่ส ารองค่อนข้างแพงการจัดซ้ือจัดหาต้องใช้เวลานานใช้งบประมาณสู ง สายการผลิตมีน้อย และไม่มีคงคลังได้แก่ เรดาร์ที่สถานีรายงานภูหมันขาว (จ.เลย) และสถานี รายงานบ้านเพ (จ.ระยอง)และสถานีรายงานเขาพนมรุ้ง(จ.บุรีรัมย์) ๓.การจัดหาเรดาร์ทดแทนต้อง ใช้งบประมาณสูง ๔.บุคลากรในหน่วยควบคุมอากาศยานและแจ้งเตือนมีความส าคัญต่อการพัฒนา ระบบป้องกนั ทางอากาศอย่างมากโดยเฉพาะนายทหารควบคุมการบินสกดัก้นั ผลการวิจัยปัญหาและอุปสรรคของหน่วยควบคุมอากาศยานและแจ้งเตือนกับการ ปฏิบัติการร่วมทางทหารผลการศึกษาพบว่า ๑.เรดาร์ของหน่วยควบคุมอากาศยานและแจ้งเตือนเป็ น จุดศูนย์ดุลที่ส าคัญ ๒. หากรัศมีของเรดาร์ไม่ครอบคลุมจุดศูนยด์ ุลหรือพ้ืนที่ส าคญั ในดินแดนของ ข้าศึกการปฏิบัติการทางอากาศจะมีความเสี่ยงอย่างมาก ๓.กรณีเรดาร์เสียหรือช ารุดจะท าให้การเฝ้า ตรวจและการพิสูจน์ฝ่ ายต่อเป้าหมายไม่สามารถกระท าได้ อาจเกิดการใช้อาวุธยิงกันเองในอากาศ ได้๔.ในการปฏิบัติการทางอากาศยุทธวิธีของก าลังทางอากาศเพื่อสนับสนุนก าลังทางบก และก าลัง ทางทะเล การควบคุมและสั่งการอากาศยาน/บ.รบ เข้าพ้ืนที่รับผิดชอบของกองก าลังรบร่วมที่ เรียกว่า ยุทธบริเวณ หน่วยงานที่รับผิดชอบของกองทัพอากาศคือหน่วยควบคุมอากาศยานและแจ้ง เตือน ๕.นอกจากเรดาร์ที่สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพแล้ว การติดต่อสื่อสารด้วย ระบบอากาศ/พ้ืนดิน ระหว่างเหล่าทพั มีความส าคญั อย่างมาก ผลการวิจัยความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยควบคุมอากาศยานและแจ้งเตือนกับการ ปฏิบัติการร่วมระหว่างปี ๒๕๕๐- ๒๕๕๒ ผลการศึกษาพบว่า ๑.ในพ้ืนที่ปฏิบตัิการซ่ึงมีอากาศยาน ของเหล่าทัพอื่นปฏิบัติการด้วย เรดาร์ในหน่วยควบคุมอากาศยานและแจ้งเตือนจะท าหน้าที่ในการ๓ ควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ ๒.เรดาร์ในหน่วยควบคุมอากาศยานและแจ้งเตือนมีเครื่องมือส าคัญ คือ หน่วยบินขบัไล่สกัดก้นั ในการป้องกันทางอากาศ ๓.กองทัพอากาศมีหน่วยควบคุมทางอากาศ ยุทธวิธี ท าหน้าที่ในการติดต่อประสานการใช้ก าลังทางอากาศของเหล่าทัพในระหว่างการยุทธร่วม ๔.ระบบการรบร่วมที่ใชใ้นการปฏิบตัิภารกิจร่วมกันระหว่างเหล่าทพั คือระบบอากาศ/พ้ืนดินของ กองทัพบก ระบบอากาศ/ทะเลของกองทัพเรือและระบบควบคุมทางอากาศยุทธวิธีของก าลังทาง อากาศ ๕.ศูนยย์ุทธการทางอากาศ (ศยอ.ฯ)จะท าหน้าที่ในการวางแผน อ านวยการ สั่งการและ ควบคุมการใช้ก าลังทางอากาศภายใต้หลักนิยม “รวมการควบคุมและแยกการปฏิบัติ” ๖. การส่ง เป้าหมายทางอากาศจากการตรวจจับของเรดาร์จะถูกส่งเข้ามารวมการยังศูนย์ยุทธการทางอากาศ และจะถูกส่งไปยังเหล่าทัพผ่านระบบต่อเชื่อมข้อมูลป้องกันทางอากาศอัตโนมัติหรือระบบ JADDIN ๗. เรดาร์เคลื่อนที่แบบ ยีราฟ-180 สามารถชดเชยจุดบอดหรือจุดบกพร่องการตรวจจับ เป้าหมายได้

abstract:

ABSTRACT Title : The Analysis of the Relationships Between the Aircraft Control And Warning Unit And Jointed Military Operations From 2007 to 2009 By : Group Captain Pornsin Sarakul Major Field : Military Science Research Advisor : Group Captain (Pitsanu Akera) July 2010 This research was conducted qualitatively by interviewing method. The primary role of the aircraft control & warning unit is to protect national airspace. Therefore, such a unit is highly important in jointed military operations. Should the unit do not perform effectively or their radars do not provide sufficient coverage for the main battlefield area. The air assault operation would be directly affected, and also if an enemy uses air attack, the unit’s interception operation would be delayed. This would result disadvantages and might subsequently cause the campaign loss. Therefore, the objectives of this research are to study the issues in the AC & W unit itself, those in the jointed military operations, and to analyze their relationships from 2007 to 2009. The research methodology used twelve population samples from the AC&W personnel, who had jointed military operation experiences, were selected. As mentioned above, the interviewing method was used for gathering primary data from the population samples. The secondary data was obtained from analyzes, papers, concepts, theories and researches. Both the primary and secondary data were categorized, investigated and then analyzed according to the research objectives. The results were then presented by discussing in correspondent with the concept, theory and research supports. As far as the results are concerned, the issues occurred in the AC&W unit are as follows: 1. many radars have been in service for over 15 years and is current outdated, e.g. Ubon Ratchathani’s, Udon Thani’s, Khao Keaw’s, and Phitsanulok’s reporting post; 2. the radar spare parts are very expensive, low stocks and take time to procure due to low supply chain, e.g. Phu Mhun Kaw’s and Ban Pae’s and Khao Phanom Rung’s reporting post; 3. New radar procurement needs a large sum of money; 4. the AC&W personnel are very important for improving the national air defense especially the inception operation officers. The issues occurred between the AC&W unit and the jointed military operations are as follows: 1. the AC&W radars are an important center of balance; 2. should the radars cannot provide sufficient coverage for the center of balance and the main enemy areas, the air operations would contain high risk; 3. in case of radar failure, further surveillance and reconnaissance cannot be performed which may cause confusion and attacking allies; 4. in the air operations for supporting ground and sea forces, the AC&W unit is responsible for controlling the strategic area; 5. apart from the effective radars, air-to-ground communication between armed forces are very important. The relationships between the AC&W unit and the jointed military operations from 2007 to 2009 are as follows: 1. the AC&W unit would provide information for any ally aircraft in the radar coverage; 2. the AC&W unit has an interceptor squadron as an important asset; 3. the RTAF has the air operation control unit for communicating with other forces’ air divisions in the jointed military operations; 4. the system employed in the armed forces’ jointed military operations is the RTA ground/sea, the RTN air/sea and the RTAF’s air operation control unit; 5. the air strategic operation center is responsible for planning, operating and controlling the air power according to ‘single control, multiple operations’ scheme; 6. the target acquisition data provided by radars are sent to the air strategic operation center which is linked to other forces via the automated encrypted information or the JADDIN system; 7. the portable radar, Giraffe-180, can eliminate AC&W radars’ blind spots.