เรื่อง: การศึกษาเครื่องมือรวบรวมข่าวสารในระบบข่าวกรองในการปฏิบัติการร่วมของกองทัพไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. ผดุงศักดิ์ รุจิยาปนนท์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2551
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : การศึกษาเครื่องมือรวบรวมข่าวสารในระบบข่าวกรองในการปฏิบัติการ
ร่วมของกองทัพไทย
โดย : พันเอกผดุงศักดิ์ รุจิยาปนนท์
สาขาวิชา : การทหาร
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก
(ขจรฤทธิ์ นิลก าแหง)
กรกฎาคม ๒๕๕๓
งานด้านการข่าวเป็ นหัวใจส าคัญของการปฏิบัติการทางทหาร แต่ระบบข่าวกรองของ
กองทัพไทยยังอาศัยเครื่องมือรวบรวมข่าวสารทางยุทธวิธีน ามาประเมินข่าวกรองทางยุทธการหรือ
ยุทธศาสตร์และยังขาดการพัฒนาที่เป็ นรูปธรรม รวมท้งัยงัไม่มีผูร้ิเริ่มศึกษาอย่างจริงจงั การศึกษา
คร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษาเครื่องมือรวบรวมข่าวสารของกห.กองบญั ชาการกองทพั ไทย เหล่า
ทัพและต่างประเทศ และเพื่อศึกษาวิเคราะห์เครื่องมือรวบรวมข่าวสารในระบบข่าวกรองที่
เหมาะสมกับการปฏิบัติการร่วมของกองทัพไทยในปัจจุบัน จากการศึกษาพบว่ากองบัญชาการ
กองทัพไทยมีส านักงานผู้ช่วยทูตทหารไทยในต่างแดนจ านวน ๒๓ แห่ง สถานีปฏิบัติการสงคราม
อิเล็กทรอนิกส์ประจ าที่ ๕ สถานีและสถานีควบคุมระบบ ดักรับและหาทิศ ๑ สถานี มีระบบ
EW6000 และการสั่งซ้ือภาพถ่ายจากดาวเทียมเป็นคร้ังคราว กองทัพบกมีงานจัดต้งัสายลับหรือ
ตัวแทน มีระบบสงครามอิเล็กทรอนิกส์มีเรดาร์ RASIT เรดาร์AN/TPQ- 36, UAV และMini UAV
อากาศยานติดต้งักลอ้งตรวจการณ์เรือเหาะประกอบกล้องตรวจการณ์เครื่องมือเฝ้าตรวจระยะไกล
กองทัพเรือมีRadarแบบ Airport Surveillance Radar, Battlefield surveillance radar, Air Defense
radar เรดาร์ตรวจการณ์ระยะไกล ระยะปานกลาง ระยะใกล้และระบบเรดาร์เตือนภัยอากาศยาน
ล่วงหน้า โซนาร์มีระบบปราบเรือดา น้า FF – 461กองทัพอากาศมีเครื่องบินตรวจการณ์ล าเลียงแบบ
ที่ ๗ เครื่องบินแบบ SAAB 340 เครื่องบินตรวจการณ์ล าเลียงแบบที่ ๑๒ เครื่องบินโจมตีธุรการแบบ
ที่ ๒ และการสั่งซ้ือภาพถ่ายจากดาวเทียมเป็นคร้ังคราว เครื่องมือของกองทัพสหรัฐฯ มีUAV แบบ HUNTER, OUTRIDER, Shadow, GUARDRAIL COMMON SENSOR, เค รื่ อ ง บิ น Airborne
Reconnaissance – Low, ระบ บ TRACKWOLF, JSTARS, RIVET JOINT, AWACS, U-2, UAV
PREDATOR,และ UAV PIONEER และอิสราเอลมีUAV แบบ Spylite B
ข้อเสนอแนะด้านงานข่าวกรองทางบุคคล ผู้ที่จะเป็ นผู้ช่วยทูตควรถูกคัดเลือกตาม
ความสามารถ งานข่าวสายลับหรือตัวแทนควรพิจารณาใช้ประโยชน์จากเอกชนที่เข้าไปประกอบ
อาชีพในพ้ืนที่เป้าหมายมากข้ึน งานข่าวกรองทางสัญญาณในงานข่าวกรอง COMINT ควร
หมุนเวียนจัดหาเครื่องมือคือเครื่องบินตรวจการณ์ล าเลียงแบบที่ ๗ ให้ทันสมัยทดแทนเครื่องเก่า
ควรมีการพัฒนา UAV ของเราเองต้งัแต่ปัจจุบนัและควรพฒั นาระบบเซ็นเซอร์ควบคู่กันไป งานข่าว
กรอง ELINT เรดาร์ RASIT และเรดาร์AN/TPQ-36 ในกองพลทหารปื นใหญ่ควรพัฒนาระบบการ
ส่งข้อมูลอัตโนมัติให้กับกองพลด าเนินกลยุทธ์ด้วย อากาศยานแบบ SAAB 340ของ ทอ.ควรมีอย่าง
น้อยสองระบบโดยควรพัฒนาในสามแนวทางคือ การจัดหาทดแทนเครื่องมือที่จัดหามานาน การท า
MOUกับมิตรประเทศให้มีเครื่องมือดังกล่าวใช้งานเมื่อเริ่มความขัดแยง้และจัดหาเพิ่มเติมให้
เพียงพอ และการเริ่มต้นวิจัยพฒั นาให้ใช้งานเครื่องมือได้นานมากข้ึน ควรพฒั นาระบบส่งขอ้ มูล
อัตโนมัติจากการประมวลผลของเรดาร์และโซนาร์ของ ทร. ให้ศูนย์ข่าวร่วมของ ศบท.ด้วย งานข่าว
กรองทางการภาพ ควรเริ่มวิจัยและพัฒนา UAV อย่างต่อเนื่อง ในระยะปานกลางควรพัฒนาการ
จัดหาเครื่องบินล่องหน และในระยะยาวควรพัฒนาระบบดาวเทียมให้มีใช้งานเป็นของกองทัพไทย
เอง เรือเหาะในยามสงครามควรใช้ติดต้งัอุปกรณ์งานข่าวกรองทางสัญญาณ งานข่าวกรองการวัด
และสัญญาณแสดงควรติดต้งัให้กบักา ลงัรบพิเศษที่เฝ้าตรวจในพ้ืนที่ส่วนลึกและควรติดต้งัเครื่องมือ
ดังกล่าวในอากาศยานหรือUAV
abstract:
ไม่มี