เรื่อง: แนวทางการสร้างความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการ กรมช่างโยธาทหารอากาศในปีงบประมาณ 2553
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. ประกาศิต เจริญยิ่ง
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2551
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : แนวทางการสร้างความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการ
กรมช่างโยธาทหารอากาศในปี งบประมาณ ๒๕๕๓
โดย : นาวาอากาศเอก ประกาศิต เจริญยิ่ง
สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก
(ประสงค์ จั่นวิลัย)
กรกฎาคม ๒๕๕๒
การวิจัยเรื่อง แนวทางการสร้างความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการกรมช่างโยธา
ทหารอากาศในปี งบประมาณ ๒๕๕๓ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาที่มีผลกระทบต่อความ
ผูกพันต่อองค์การของข้าราชการกรมช่างโยธาทหารอากาศ ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การ และ
เปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการกรมช่างโยธาทหารอากาศที่จ าแนกตามปัจจัย
ส่วนบุคคล (ช้ันยศ อายุระยะเวลาในการรับราชการ ระดับการศึกษา และอัตราเงินเดือน)
ในการวิจยัคร้ังน้ีประชากรที่ใชใ้นการวิจยั คือขา้ราชกรมช่างโยธาทหารอากาศ ที่ปฏิบตัิงานภายใน
หน่วยข้ึนตรงของกรมช่างโยธาทหารอากาศ จ านวน ๑๑ หน่วย มีช้ันยศต้ังแต่จ่าอากาศตรีถึง
นาวาอากาศเอกเลือกกลุ่มตวัอย่างจา นวน ๒๘๕ คน โดยใชว้ิธีการสุ่มตวัอย่างแบบแบ่งช้นั ภูมิและ
หาสัดส่วน ในการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามเป็ นเครื่องมือในเก็บรวบรวมข้อมูล แล้วน า
ข้อมูลที่ได้มาประมวลผลด้วยโปรแกรมส าเร็จรูปทางสังคมศาสตร์ ส าหรับสถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ
ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัย พบว่า โดยภาพรวมข้าราชการกรมช่างโยธาทหารอากาศ มีความคิดเห็น
ต่อความผูกพันต่อองค์การในระดับมาก เมื่อจ าแนกเป็ นรายด้าน พบว่า ในทุกด้าน ข้าราชการ
กรมช่างโยธาทหารอากาศมีความผูกพันต่อองค์การในระดับมากด้วยเช่นกัน โดยเรียงล าดับจาก ๒
มากไปหาน้อย คือ ด้านความต้องการที่คงอยู่เป็ นสมาชิกภาพขององค์การ (
X
= ๔.๐๘) ด้านความ
เต็มใจที่จะใช้ความพยายามอย่างเต็มก าลังสามารถเพื่อประโยชน์ขององค์การ (
X
= ๔.๐๓) และ
ดา้นความเชื่อมนั่ และยอมรับในเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ (
X
= ๓.๙๐) ส าหรับปัจจัยส่วน
บุคคล พบว่า มีเพียงด้านเดียว คือ ระดับการศึกษาต่างกันมีความคิดเห็นต่อความผูกพันต่อองค์การ
แตกต่างกัน โดยผู้ที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรีจะมีความคิดเห็นต่อความผูกพันต่อองค์การสูงกว่า
ผู้ที่มีระดับการศึกษาต่า กว่าปริญญาตรีอย่างมีระดับนัยส าคญั ที่ .๐๕ ส่วนที่เหลือ คือ ช้ันยศอายุ
ระยะเวลาในการรับราชการ และอัตราเงินเดือนต่างกันมีความคิดเห็นต่อความผูกพันต่อองค์การไม่
แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญที่ระดับ .๐๕
abstract:
ABSTRACT
Title : An Approach for Developing Organization Affiliation for the
PersonnelServicing in the Directorate of Civil Engineering
(DCE), RTAF in FY 2010
By : Group Captain Prakasit Charoenying
Major Field : Social - Psychology
Research Advisor : Group Captain
(Prasong Janvilai)
July 2010
The objectives of this research are to study the issues which affect the organization
affiliation of the DCE personnel, to explore the levels of the organization affiliation, and to
compare the affiliation levels by categorizing according to the individual criteria (i.e. rank, age,
service year, education and salary). The population samples selected for this study were 285 DCE
personnel from 11 units and ranked from Leading Aircraftman to Group Captain. The classified
random selection method was applied and the quantitative relations were determined. A set of
questionnaires was used for gathering the data which were then evaluated using an off-the-shelf
statistic program. The statistical parameters focused in the study were percentile, average,
standard deviation and analysis of variance.
As far as the results of this research are concerned, it was found that the majority of the
DCE personnel were highly affiliated with the organization. The same positive results were
presented when the subcategories were considered. The order of the subcategories from the
highest was as follows, the aspiration of remaining as the organization member (
X
= 4.08),
the determination to contributing the organization improvement (
X
= 4.03), and the acceptance ๔
of organization’s goals and values (
X
= 3.90). For the individual aspects at 0.05 significant, only
the education factor yielded significant difference in which the personnel possessing
undergraduate degree or above had higher level of affiliation in comparison to those whose
education were below undergraduate. On the other hand, the rest of the individual aspects did not
show any difference at the same significant value.