เรื่อง: แนวทางการพัฒนากำลังพลของกรมจเรทหารอากาศ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. นาถวุฒิ หยูทอง
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2551
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : แนวทางการพัฒนาก าลังพลของกรมจเรทหารอากาศ
โดย : นาวาอากาศเอก นาถวุฒิ หยูทอง
สาขาวิชา : การทหาร
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก
(พิษณุ เอกระ)
กรกฎาคม ๒๕๕๓
การศึกษาค้นคว้าเรื่องแนวทางการพัฒนาก าลังพลของกรมจเรทหารอากาศ เป็ นการศึกษาเชิง
วิเคราะห์โดยน าแนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาก าลังพลหรือการพัฒนาบุคลากร หรือการ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มาประกอบการวิเคราะห์ กลุ่มประชากรส าหรับการศึกษาคน้ควา้ในคร้ังน้ี
เป็ นกา ลงัพลของกรมจเรทหารอากาศ ประกอบด้วย นายทหารช้ันสัญญาบตัรช้ันยศ นาวาอากาศ
ตรี – นาวาอากาศเอก(พิเศษ) ที่ปฏิบัติภารกิจหลกัของกรมจเรทหารอากาศท้ัง ๓ ด้าน คือ การ
ตรวจสอบประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการกองทัพอากาศ การตรวจสอบมาตรฐาน
การบิน และการสืบสวน สอบสวน เรื่องร้องทุกข์ร้องเรียน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาใน
การพัฒนาก าลังพลของกรมจเรทหารอากาศในปัจจุบัน เพื่อศึกษาแนวทางที่เหมาะสม และ
สอดคล้องกับการพัฒนาก าลังพลของกรมจเรทหารอากาศ และน าผลการศึกษาไปประกอบการ
วางแผนพัฒนาก าลังพลของกรมจเรทหารอากาศในอนาคต
ผลการศึกษา พบว่า ปัญหาด้านการพัฒนาก าลังพลของกรมจเรทหารอากาศใน
ปัจจุบัน ได้แก่ ความแตกต่างของการปฏิบัติภารกิจ ท าให้การพัฒนาก าลังพลต้องแยกด าเนินการ
เป็นการเฉพาะ บางกลุ่มมีจ านวนก าลังพลน้อยมาก การพัฒนาก าลังพลโดยการฝึ กอบรมพร้อมกัน
ท าได้ยาก เนื่องจากช่วงเวลาที่ว่างจากภารกิจไม่ตรงกัน การก าหนดโครงการฝึ กศึกษาอบรม ไม่
สอดคล้องกับภารกิจหลักของกรมจเรทหารอากาศ โครงการเน้นไปที่ภารกิจสนับสนุนเป็ นส่วนใหญ่ ขาดการศึกษา วิเคราะห์ความต้องการคุณลักษณะก าลังพลที่หน่วยต้องการและมีความจ าเป็ น
และจ านวนก าลังพลที่ได้รับการพัฒนาฝึ กอบรมมีจ านวนอัตราส่วนน้อยมากเมื่อเทียบกับจ านวน
ก าลังพลที่ปฏิบัติภารกิจหลักของหน่วย มิได้ก าหนดวงรอบของการพัฒนาก าลังพล รวมท้ัง
รายละเอียดอื่นไว้ให้ชัดเจน ท าให้การพัฒนาไม่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ แนว
ทางการพัฒนาก าลังพลที่เหมาะสมกับกรมจเรทหารอากาศ ได้แก่ การศึกษาคุณลักษณะของ
กา ลังพลกรมจเรทหารอากาศ ที่เหมาะสมกับการปฏิบัติภารกิจหลักของหน่วยท้ัง ๓ ด้าน ท้ัง
คุณลักษณะที่เป็ นคุณลักษณะร่วมซึ่งเหมือนกัน และคุณลักษณะเฉพาะซึ่งแตกต่างกันตามภารกิจ
น าแนวคิดเกี่ยวกับ Competency ของก าลังพลมาเป็ นแนวทางหลักในการพัฒนาก าลังพล
เนื่องจากลักษณะขององค์กรเป็ นหน่วยงานราชการ การก าหนดการพัฒนาก าลังพลของกรมจเร
ทหารอากาศ ต้องท าให้ครอบคลุม ก าลังพลที่ปฏิบัติภารกิจหลักครบถ้วนทุกคน และก าหนดช่วง
ระยะเวลาให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมภายนอก ซึ่งไม่ควรจะมากกว่า ๑ ปี
ก าลังพลที่ปฏิบัติภารกิจตรวจสอบมาตรฐานการบิน ควรก าหนดให้มีการพัฒนาโดยการส่งไปศึกษา
อบรมในต่างประเทศ ก าลังพลที่ปฏิบัติภารกิจการด าเนินการเรื่องร้องทุกข์ร้องเรียน ควรจัดส่งก าลัง
พลศึกษาอบรมร่วมกับหน่วยงานที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน
ข้อเสนอแนะ กรมจเรทหารอากาศ ควรศึกษาลักษณะภารกิจหลักของหน่วย เพื่อ
ก าหนดเหล่าของก าลังที่ตรงกับลักษณะของภารกิจ หากมีความแตกต่างจากที่กองทัพอากาศมีอยู่
ควรก าหนดเป็นเหล่าเฉพาะควรจดั ทา แผนการพฒั นากา ลงัพล ท้งัในระยะส้ัน ระยะยาว ให้ชดัเจน
และถ่ายทอดรายละเอียดของแผนไปยังก าลังพลทุกระดับ ควรมีการก าหนดการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมจากลักษณะที่เป็ นหน่วยงานเดิม มาเป็ นลักษณะเฉพาะที่เป็ นเอกลักษณ์ของกรมจเร
ทหารอากาศ หรือค่านิยมของหน่วย (Value) ที่เอ้ือประโยชน์ต่อการปฏิบตัิภารกิจของกรมจเรทหาร
อากาศABSTRACT
Title : An approach for Human Resource development For Directorate of
Inspector General Royal Thai Air Force
By : Group Captain Narthawuthi Yoothong
Major Field: Military
Research Advisor : Group Captain
(Pisanu Akara)
July2010
This research studied the concepts and theories related to the development
of personnel and human resources. The population sample chosen was the
commissioned officers from the Directorate of Inspector General (DIG), RTAF. The
work positions of these selected personnel, ranked between Squadron Leader and
Group Captain, follow the three main objectives of the DIG. These are the inspection
of RTAF units, inspection of pilot's standard, and investigation upon official enquiries.
The research objectives were to study the issues of DIG personnel development and to
apply the results for subsequent development plans.
As far as the results were concerned, it was found that the current issues of
the DIG personnel development are; the different type operations causing
disproportion numbers of allocated personnel, the difficulty of arranging simultaneous
training due to their availability, irrelevant training programs which emphasized
support missions rather than focusing on personnel's necessary educations and
qualifications, the number of training personnel is low compared to unit allocation requirement, and finally ambiguous development cycle plans which are not
correspondent with the RTAF's strategies.
To rectify the aforementioned issues, the following approaches are
recommended; determining the qualifications of the personnel, both general and
individual aspects, necessary for the DIG's main work objectives, applying the concept
of personnel competency in the development plans. Since the DIG is a military unit,
the development plans must cover all aspects and be flexible in term of time period.
For the inspection of pilot's standard, foreign training programs are recommended, and
for general inspections, the corresponding DIG personnel should be trained with those
from other similar units.
It is suggested that the DIG should revise its unit objectives in order to
appropriately categorize the personnel groups. A special personnel group should be
defined if one cannot be specifically defined. The personnel development plans should
be clearly stated and informed to all levels of personnel. And finally the overall DIG
unit value should be adapted to support its main objectives.
abstract:
ไม่มี