Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การส่งเสริมการค้าชายแดนไทย – พม่า กับผลกระทบด้านความมั่นคง (ช่วง พ.ศ. 2545 - 2552)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, นาย ธงชัย ไหลประสิทธิ์พร
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2551
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : การส่งเสริมการค้าชายแดนไทย – พม่ากบัผลกระทบดา้นความมนั่ คง (ช่วง พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๕๒) โดย : นายธงชัย ไหลประสิทธิ์ พร สาขาวิชา : อาจารย์ที่ปรึกษา เอกสารวิจัย : พันเอก (ศิริชัย ศศิวรรณพงศ์) กรกฏาคม ๒๕๕๓ การค้าชายแดนเป็ นการค้าลักษณะพิเศษของการค้าระหว่างประเทศ ที่ก่อให้เกิด ประโยชน์อย่างมากต่อเศรษฐกิจ ชุมชน บริเวณชายแดน และระบบเศรษฐกิจของประเทศ ในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมา การค้าชายแดนไทยกับประเทศพม่า มีขนาดใหญ่ข้ึนทุกปีท้งัปริมาณ และมูลค่า การคา้ โดยส่วนใหญ่ไทยเป็นฝ่ายไดด้ ุลการคา้ ปัจจุบนัการคา้ชายแดนไทยมีท้งัการคา้ในระบบที่ ผ่านข้นั ตอนพิธีทางศุลกากรการค้านอกระบบที่มีกลุ่มอิทธิพลที่เกี่ยวขอ้ง และการคา้ผ่านแดนท้งั จากไทยไปประเทศที่ 3 เช่น จีนตอนใต้ (ยูนนาน) เวียดนาม ในการศึกษาคร้ังน้ีจะพิจารณาเฉพาะ การคา้ในระบบเท่าน้นั การค้าชายแดนนอกจากจะก่อให้เกิดผลดีต่อเศรษฐกิจของประเทศแล้ว ใน ขณะเดียวกันในพ้ืนที่ชายแดนยงัมีปัญหาความมนั่ คงหลายประการที่ต้องดูแล การศึกษาเรื่องการ ส่งเสริมการคา้ชายแดนกับผลกระทบต่อความมนั่ คง จึงได้รวบขอ้ มูลข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องจาก เอกสาร บทความวิชาการ สื่ออินเตอร์เน็ต รวมท้ัง นโยบายและแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข้องของ หน่วยงานความมั่นคง คือ ส านักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติเพื่อช้ีให้เห็นถึงผลดีของการค้า ชายแดน ผลเสีย หรือผลกระทบจากนโยบายการส่งเสริมการคา้ชายแดนต่อความมนั่ คง ตลอดจน นโยบายที่เกี่ยวขอ้งในการแก้ไขปัญหาความมนั่ คงในพ้ืนที่ชายแดนในระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๔๕ – ๒๕๕๐) เพื่อน าไปสู่ข้อเสนอแนะในการสร้างสมดุลระหว่างผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ กับการ รักษาความมนั่ คงของประเทศ สรุปผลการศึกษาอาจกล่าวได้ว่า การค้าชายแดนส่งผลดีอย่างมากต่อความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจชายแดน ชุมชนในชายแดน และการคา้ระหว่างประเทศรวมท้งัมีบทบาทในการเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยในภูมิภาค เนื่องจากข้อได้เปรียบที่ส าคัญของการค้า ชายแดนคือ ระยะทางขนส่งที่ใกล้นอกจากน้ันการคา้ชายแดนยงัช่วยในการส่งเสริมสนับสนุน ทอ้งถิ่น การสร้างความสัมพนัธ์และความใกลช้ิดในภูมิภาค ลดทอนการแข่งขนั ที่มากเกินไป และ เสริมจุดแข็งของกันและกัน ตลอดจนช่วยลดผลกระทบจากภายนอกที่มีความไม่แน่นอนสูง โดยมี โครงการส าคัญที่ช่วยสนับสนุนการค้าชายแดนในภูมิภาคได้แก่ โครงการหกเหลี่ยมเศรษฐกิจ (GMS)และโครงการ ACMECS ซึ่งประเทศไทยเป็นตัวเชื่อมส าคัญของการค้าชายแดนของภูมิภาค ท้งัสภาพภูมิศาสตร์ขนาดของประเทศและขนาดทางเศรษฐกิจ ปัญหาอุปสรรคพ้ืนฐานของการค้าชายแดน ได้แก่ การขาดความไว้วางใจกัน ขาด “ต้นทุนทางสังคม” หรือ “ต้นทุนทางการเมือง” ความอ่อนไหวทางการเมืองภายในบางประเทศ ทิศทาง และระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ การเมืองที่ต่างกัน ปัญหาระบบการเงิน และกฎระเบียบ ต่าง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงบ่อย โครงสร้างพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจการคมนาคม ยังพัฒนาไม่สมบูรณ์ และ การค้านอกระบบที่ท าให้ผู้ค้าในระบบเสียเปรียบ และท าให้ต้องออกกฎระเบียบที่เป็ นอุปสรรคทาง การค้า ส าหรับปัญหาความมั่นคงในพ้ืนที่ชายแดนที่ส าคญั ได้แก่ ปัญหาเขตแดน ปัญหาผู้ หลบหนีเข้าเมือง ปัญหาแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง ปัญหายาเสพติด และปัญหาอาชญากรรม บริเวณชายแดน รวมไปถึงปัญหาบ่อนการพนนั ในประเทศเพื่อนบา้น ซ่ึงผูเ้ล่นเกือบท้งัหมดเป็นคน ไทย ดังน้ัน การส่งเสริมการคา้ชายแดนจึงต้องคา นึงอย่างรอบคอบ รอบดา้น ถึงทุกมิติที่เกี่ยวขอ้ง ท้งัมิติด้านเศรษฐกิจ มิติสังคม มิติการเมือง และมิติความมนั่ คง และชั่งน้ าหนักอย่างเหมาะสม เพื่อให้การคา้ชายแดนก่อประโยชน์ต่อส่วนรวมอย่างยงั่ ยืน ผู้ศึกษามี ข้อเสนอแนะแนวทางการส่งเสริมการค้าชายแดน ซึ่งบางประเด็นสามารถ น าไปสู่การแก้ไขผลกระทบด้านมั่นคงไปพร้อม ๆ กัน กล่าวคือ ๑) ภาครัฐต้องก าหนดนโยบายที่ ชดั เจนในการสร้างเสริมความสัมพนัธ์อนั ดีและการพฒั นาพ้ืนที่ชายแดนร่วมกนักับประเทศเพื่อน บ้าน ๒) พิจารณาจดั ต้งัเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนและจัดต้งัศูนย์One Stop Service เพื่อบูรณาการ การท างาน และน าการค้าชายแดนเข้าสู่ระบบ ๓) แก้ไข ปรับปรุง กฎระเบียบที่เป็ นอุปสรรค ๔) ส่งเสริมผลักดันการด าเนินการตามกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่มีอยู่ให้มีผลคืบหน้าอย่างเป็ น รูปธรรม และ ๕) ใช้ช่องทางการทูต และกลไกความร่วมมือรูปแบบต่าง ๆ ที่มีอยู่ในการแก้ไข ปัญหาข้อขัดแย้ง และการสร้างเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างกัน ในส่วนของการแกไ้ขปัญหาผลกระทบต่อความมนั่ คงผูศ้ึกษามีความเห็นว่าอาจ ต้องแยกประเด็นการพิจารณาปัญหาความมนั่ คงออกจากประเด็นเศรษฐกิจ แลว้พิจารณากา หนด มาตรการป้องกัน แกไ้ขให้สอดคลอ้งกับขอ้เท็จจริงในแต่ละพ้ืนที่โดยใช้กลไกความมนั่ คงที่มีอยู่ คือ คณะอนุกรรมการพิจารณาการเปิ ดจุดผ่านแดนเป็นเวทีกลางในการด าเนินงาน ขณะเดียวกันต้อง สร้างความรู้ความเขา้ใจ ด้านความมนั่ คงต่อทุกส่วนที่เกี่ยวขอ้งเพื่อสร้างจิตส านึกความมนั่ คงและ ความรับผิดชอบร่วมกันต่อการรักษาผลประโยชน์ของชาติทุกด้าน การส่งเสริ มการค้าชายแดน โดยเข้าใจถึงความเชื่อมโยงในมิติเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และความมนั่ คง จะทา ให้ทุกฝ่ายได้ประโยชน์และน าไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจที่ส่งผล กระทบต่อความมนั่ คงของชาตินอ้ยที่สุด ABSTRACT Title : Boosting Thai – Burma Border Trade and Security effects (The period from 2545 to 2552 BC) By : Mr. Thongchai Laiprasitporn Major Field : Research Advisor : Colonel (Sirichai Sasiwannapong) July 2010 Border trade is a special form of international trade which brings about great benefits towards the economy of community. border areas and the national economic system as a whole. Since the past ten years, the border trade between Thailand and Burma has increased enormously year by year both in terms of quantity and trade values. Mostly, Thailand gains the trade balance benefits. Presently, the Thai border trade is found in a formal system through the customs process, informal system by influential figures, and border trade from Thailand to the third countries such as to the southern China (Yunan) and Vietnam. Within this study. emphasis will be put on the formal trade in particular. Despite creating good effects to the national economy. border area exists several security problems to be cared. Therefore, the study on boosting the border trade and security effects in this regard needs to compile relevant information and facts from documents, academic articles, data from internet including policy and relevant operational guidelines of security agency or the office of the Nationality Security Council. It will indicate the good and bad effects or its repercussion from the policy on boosting border trade towards security as well as the policy pertaining to the resolution of security problem at the border area for a 5-year period ( B.E. 2545 to B.E. 2550). This will lead to recommendations on an appropriate balance between economic interest and maintaining the national security. The study may be concluded that border trade will bring about enormous growth of border economy, border community and international trade apart from increasing the competitive capabilities of Thailand in the region. The significant advantage of border trade for Thailand in this respect is the close distance of transportation. Furthermore, border trade helps support local community, build up close and concrete relationship in the region, reduce competitions and reinforce strength to each other as well as abate the external effects due to uncertain and changeable situation. There still exists important projects to support the border trade in the region as seen from the GMS and ACMECS which Thailand plays a major role in the linkages of the region taking into account the geographical condition, the size of the country and economy. The basis problems of border trade and the lack of trust, no social or political connections, internal politics sensitivity of some countries, different direction, the degree of political and economic development, the variable and uncertain monetary system and its regulations, the imperfect and undeveloped of economics and transportation infra-structure as well as the informal trade disadvantaging the formal trades. All these lead to several regulations or trade obstacles. To boost the border trade, we have to consider carefully relevant border area security problems such as the border problem with neighboring country, illegal immigrants, alien workers sneaking into the country, drugs, criminal problem along the border and casinos in the neighboring countries. The gamblers are mostly Thai. Therefore, every factor should be taken into account as well as relevant dimensions in economics, social, political and security aspects. All these should be weighed appropriately so that the border trade will bring about sustainable benefits to the public as a whole. In this connection, the researcher has some recommendations to help solve the security effects on this subject simultaneously viz 1) the government has to stipulate a clear policy to build up good relationship with neighboring countries as well as develop jointly with neighboring countries on the border area 2) consider setting up a special economic zone along the border trade and one Stop Service Center for the integration of work and the systematic border trade 3) improve and amend any obstacle regulations 4) support and push forward constructively any economic cooperation framework 5) apply diplomatic channel and cooperating mechanism to solve conflict issues and promote understanding between countries. As for the resolution on the security effects, the researcher sees that it should be considered separately from the economic issues. Some practical measures will be considered and stipulated to be in compliance with the fact and real problem in each area by applying the existing security mechanism to operate viz the sub-committee on the consideration of opening border check point as a means. At the same time, the government authority must provide security information and implant security awareness to public so that they will take part in maintaining the national interest in all aspects. Boosting the border trade, every party concerned must understand the linkages of economic, social, political and security dimensions. This will lead to the interest of all parties and economic development which firing about least effects to the national security.

abstract:

ไม่มี