Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการทำลายสะพานข้ามลำน้ำของกระทรวงคมนาคมในภาวสงคราม

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, นาย ณรงค์ คู่บารมี
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2551
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

ก ค ำน ำ สะพานนับเป็ นโครงสร้างที่ส าคัญที่สุดในทางยุทธศาสตร์ส าหรับเส้นทางคมนาคม เนื่องจาก หากสะพานถูกท าลายจะท าให้เส้นทางคมนาคมถูกตัดขาด การคมนาคมขนส่งหยุดชะงัก อันเป็นการขัดขวาง หรือท าให้ไม่สามารถใช้เป็นเส้นทางคมนาคมได้ ต่อไป การวิจยัคร้ังน้ีเพื่อมุ่งหวงัให้เกิดสัมฤทธ์ิผลในการทา ลายสะพานอย่างมีประสิทธ์ิภาพ และ เหมาะสมโดยสูญเสียทรัพยากร และน ามากลับมาใช้ใหม่ได้อย่างคุ้มค่า เพื่อประโยชน์ในทางยุทธวิธี มิให้ข้าศึกเข้ามาใช้ประโยชน์จากเส้นทางคมนาคมได้โดยสะดวก การจดัทา เอกสารวิจยัคร้ังน้ีไดส้ าเร็จลุล่วงดว้ยดีโดยได้รับความร่วมมือจากบุคคลหลายฝ่ าย และโดยเฉพาะ ดร.เทียม เจนงามกุล วิศวกรใหญ่ กรมทางหลวงชนบท อาจารย์ที่ปรึกษาสายวิทยาการ ที่ได้ให้ค าแนะน าที่เป็นประโยชน์ พันเอกอนุฤทธิ์ นวลอนงค์ ที่ได้กรุณาแนะน าและให้ยืมเอกสาร ทางทหารช่าง รวมท้งัพนั เอกขจรฤทธ์ินิลกา แหง อาจารยท์ ี่ปรึกษา และขอขอบคุณผูท้ ี่ไดกรุณาให้ ้ การสนับสนุนอีกหลายท่าน ที่ช่วยให้การวิจยัคร้ังน้ีประสบผลส าเร็จและเป็นไปตามวตถุประสงค์ของ ั การศึกษาในหลักสูตรเสนาธิการทหารทุกประการ (นายณรงค์ คู่บารมี) นักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที่๕๑ กรกฎาคม ๒๕๕๓บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : แนวทางการทา ลายสะพานขา้มลา น้า ของกระทรวงคมนาคมในภาวะสงคราม โดย : นายณรงค์ คู่บารมี สำขำวิชำ : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อำจำรย์ที่ปรึกษำเอกสำรวิจัย : พันเอก (ขจรฤทธิ์ นิลก าแหง) กรกฎาคม ๒๕๕๓ การทา เอกสารวิจยัเรื่อง “แนวทางการทา ลายสะพานขา้มลา น้า ของกระทรวงคมนาคมใน ภาวะสงคราม” มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาแนวทางการท าลายโครงสร้างสะพานแต่ละรูปแบบในเส้นทาง คมนาคม ซึ่งจะช่วยให้การตัดสินใจและพิจารณาด าเนินการท าลายสะพานได้อย่างเหมาะสมและบรรลุ วตัถุประสงคใ์นการหยุดย้งั หรือหน่วงเวลาขา้ศึกใชเ้ส้นทางคมนาคมไดช้า้ลง เพื่อวัตถุประสงค์ทาง ยุทธวิธี โดยผู้วิจัยได้ท าการศึกษารูปแบบโครงสร้างสะพานในเส้นทางคมนาคมของทุกหน่วยงาน ที่ท างานก่อสร้างโครงสร้างพ้ืนฐานในกระทรวงคมนาคม ว่าสะพานที่ก่อสร้างมีลักษณะโครงสร้าง รูปแบบการก่อสร้าง ตลอดจนรูปร่างหนา้ตดัและชิ้นส่วนโครงสร้างมีความสัมพันธ์กันอย่างไร และ รูปแบบหรือความยาวช่วงใดที่เหมาะสมต่อการท าลายเพื่อประโยชน์ทางยุทธวิธีมากที่สุด แล้วจึงใช้ ค านวณโครงสร้างทางวิศวกรรม เพื่อหาจุดวิกฤตของหน้าตัดโครงสร้างที่เหมาะสมต่อการท าลาย สะพานใต้วิธีการที่สามารถด าเนินการได้โดยใช้ยุทธภัณฑ์ ที่มีอยู่อย่างได้ผล ผลการวิจัยพบว่า สะพานที่เหมาะสมต่อการท าลายทางยุทธวิธีได้แก่สะพานที่มีความยาว ช่วง ๒๐ เมตร และ ๓๐ เมตร ซึ่งในความยาวช่วงสะพาน ๓๐ เมตร ประกอบด้วยหน้าตัด โครงสร้าง ๒ รูปแบบ คือหน้าตัดโครงสร้างสะพานแบบคานรูปตัว I (I-Girder) และหน้าตัดโครงสร้างแบบ คานรูปกล่อง (Box Girder) ส าหรับความยาวสะพานช่วง30เมตรมีหนา้ตดัโครงสร้างคานรับพ้ืน รูปแบบเดียวคือรูปแบบตัว I (I-Girder) โดยมีต าแหน่งที่เหมาะสมต่อการท าลายใกล้เคียงกับจุด ศูนย์กลางความยาวช่วงสะพาน ข้อเสนอแนะจากการศึกษาวิจัยเพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ในทางปฏิบัติ ควรมีการส ารวจ เส้นทางที่เป็นโครงข่ายเส้นทางคมนาคมที่ส าคัญ ซึ่งน าไปสู่สถานที่ส าคัญหรือที่น าไปสู่จุดศูนย์ดุล ทางยุทธศาสตร์ โดยทา การส ารวจในเส้นทางเหล่าน้นั มีสะพานอยู่กี่แห่ง และแห่งใดจะสามารถ ท าลายหน่วงเวลาข้าศึกได้ในบางยุทธวิธี ซึ่งอาจใช้เป็นข้อมูลประกอบของแผนย่อยในแผนป้องกัน ประเทศ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ในทางทหารได้ต่อไป ABSTRACT Title : Guideline for destroy the bridge across river in the Ministry of Communication at war period. By : Mr.Narong Khoobaramee Major Field : Science and Technology. Research Advisor : Colonel (Kajohnrit Nilkamhaeng) July 2010 Intended to examine ways to destroy each model of bridge structure in the transportation routes. This allows the decision to destroy the bridge and consider the proper objective to stop or delay the enemy for tactical purposes. The researcher has studied the bridge structure in the path of all transportation agencies that building infrastructure in the Ministry of Transport. Bridge constructions have many models and cross section shape. The structural components are related to the span length and cross section. What kind of component that proper to destroy and more benefits for tactical purposes? By using structural analysis for finding the critical section that can be destroy by existing arms effectively. The results showed that the length of bridge that proper to destroy for tactical purpose are 20 meters and 30 meters span length. In the 20 meters span length, there are two kind of span section. First is I section (I-Girder) and second is a box (Box Girder) respectively. For 30 meters span bridges, the cross section of structure is only I-Girder. Where appropriate, with the destruction of close to the center of the span length. Suggestions for the research to ensure integrity in the practice should explore the network path of major route that leading to landmark or to the centers of gravity. By surveys how many bridges in the significant route and what is position can be destroyed for delay the enemy. This may be informed to sub-plan in the National Defense Plan to achieve military objective in the next.

abstract:

ไม่มี