เรื่อง: การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมพรคาบานารีสอร์ทกับหน่วยทหาร
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. โชคดี เกตสัมพันธ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2551
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมพรคาบานารีสอร์ท
กับหน่วยทหาร
โดย : พันเอกโชคดี เกตสัมพันธ์
สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก
(รัตนชัย สุวรรณเทศ)
กรกฎาคม ๒๕๕๓
วตัถุประสงค์ของเอกสารวิจัยฉบบั น้ีจดั ทา ข้ึนเพื่อศึกษาหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในการน าไปแก้ปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจรวมถึงปัญหาสังคมจิตวิทยา
และการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ กับสิ่งแวดลอ้ม โดยท าการศึกษาวิจัยจากองค์กรภาคธุรกิจเอกชน
กับชุมชนใกล้เคียงที่ประสพผลส าเร็จต่อการแก้ไขปัญหาดังกล่าวแล้วน าไปประยุกต์ใช้กับหน่วยทหาร
การศึกษาวิจยัคร้ังน้ีเป็นการวิจยัเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิเคราะห์เชิงพรรณาโดยใชข้อ้ มูล
จากการศึกษาวิจัยจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ ใช้แบบสอบถามด้วยวิธีสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องกับ
การด าเนินการร่วมกันในเรื่องหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงระหว่างชุมพรคาบานารีสอร์ทกับ
ชุมชนใกล้เคียงและหน่วยทหารในค่ายเขตอุดมศักดิ์ จังหวัดชุมพร
ผลการวิจัยพบว่า แรงจูงใจที่ท าให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนร่วมกัน
ระหว่างชุมพรคาบาน่ารีสอร์ท และชุมชนใกล้เคียง คือการตระหนักถึงปัญหาด้านวิกฤติเศรษฐกิจ
สภาพสังคม สิ่งแวดล้อม ของรีสอร์ทกับชุมชน และความมีศรัทธาในองค์พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว ซ่ึงแนวทางในการแก้ปัญหาน้ันได้มีการน าแนวทางและหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงไปใช้ในการปฏิบัติในทุกระดับ ต้งัแต่ระดบัครอบครัว ระดบั ชุมชนจนถึงระดบัรัฐ ท้งัใน
การพัฒนาและบริหารประเทศให้ด าเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้
ก้าวทันต่อยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความ
จ าเป็ นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจาก การเปลี่ยนแปลงท้งัภายนอกและภายใน ท้ังน้ีจะต้องอาศยัความรอบรู้ความรอบคอบ และความ
ระมดัระวงัอย่างยิ่งในการนา วิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดา เนินการทุกข้นั ตอนและ
ขณะเดียวกนั จะต้องเสริมสร้างพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่รัฐ นักทฤษฎี และ
นักธุรกิจ ในทุกระดับให้มีส านึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม
ด าเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อม
ต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกวา้งขวางท้งัด้านวตัถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และ
วัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดีABSTRACT
Title : Adaptation of The Sufficent Economy from Chumphon
Cabana Resort to The Military Camp.
By : Sp. Col. Choakdee Katsampan
Major Field : Social -Psychology
Research Advisor : Sp. Col.
( Ratanachai Suwanadesa )
July 2010
This Objective of this research is to study The Sufficient Economic of
His Majesty The King used to explain how crises turn to opportunity in Chomphon
Cabana Resort with Community Area and turn to the Military Camp. These
crises are economic, social – psychology, culture and environmental.
This study is a qualitative research with the descriptive methodology in
with the data is obtained from interviewing and study the document, the report
from The King’s project , The New Aricultural Theory and The Sufficient
Economy experts.
The result from this study is know how the insperation to join the
development between Chomphon Cabana Resort and the community Area are
the economic, the social Psychology, the environmental crisis and the King – beloved.
The way to clear this problem is to use The Sufficiency Economy to stresses
the middle path as an overriding principle for appropriate conduct by the
populace at all levels. This applies to conduct starting from the level of the
families, communities, as well as the level of nation in development and administration so as to modernize in line with the forces of globalization.
“Sufficiency” means moderation, reasonableness, and the need of self – immunity
for sufficient protection from impact arising from internal and external changes. To
achieve this, an application of knowledge with due consideration and prudence is
essential. In particular great care is needed in the utilization of theories and
methodologies for planning and implementation in every step. At the same
time, it is essential to strengthen the moral fibre of nation, so that everyone,
particularly public officials, academics, businessmen at all levels, adheres first
and foremost to the principles of honesty and integrity. In addition, a way of
life based of patience, perseverance, diligence, wisdom and prudence is
indispensable to create balance and be able to cope appropriately with critical
challenges arising from extensive and rapid socioeconomic, environmental, and
cultural changes in the world.”ประวัต
ิ
ย
่
อผ
้
วูิ
จัย
ชื่อ พ.อ.โชคดี เกตสัมพันธ์
วันเดือนปี เกิด ๑๗ กันยายน ๒๕๐๑
การศึกษา โรงเรียนวัดราชโอรส
โรงเรียนเตรียมทหาร
โรเรียนนายร้อย จปร.
โรงเรียนเสนาธิการทหารบก
มหาลัยวิทยาลัยบูรพา
ประวัติการท างาน - ผู้บังคับกองร้อยปื นใหญ่ กองพันทหารปื นใหญ่ที่ ๕
- นายทหารฝ่ ายยุทธการและการฝึ ก กรมทหารปื นใหญ่ที่ ๕
- ผู้บังคับกองพันทหารปื นใหญ่ที่ ๒๕
- เสนาธิการกรมทหารปื นใหญ่ที่ ๕
- รองผู้บังคับการกรมทหารปื นใหญ่ที่ ๕
- ผู้อ านวยการกองกิจการพิเศษ สถาบันวิจัยทางยุทธศาสตร์
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
- ผู้อ านวยการกองวิจัยและพัฒนาการศึกษา กองบัญชาการสถาบันวิชา
การป้องกันประเทศ
ต าแหน่งปัจจุบัน ผู้อ านวยการกองวิชาการส่งก าลังบ ารุง วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
abstract:
ไม่มี