Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ปัญหาการก่อความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้กับแนวโน้มการแบ่งแยกตัวตามหลักการกำหนดใจตนเอง ของประชาชนในอนาคต

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.ต.อ. ขวัญชาติ ไขแสง
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2551
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : โดย : พันต ำรวจเอก ขวัญชำติ ไขแสง สาขาวิชา : การทหาร อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก (กิตติภัค ทองธีรธรรม) กรกฎาคม ๒๕๕๓ ปัญหาการก่อความไม่สงบในพ้ืนที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งหมายถึงจังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส และ ๔ อ าเภอของจังหวัดสงขลา (จะนะ, นาทวี, เทพา และ สะบ้าย้อย) เป็ น ปัญหาด้านความมนั่ คงที่ส าคญั ยิ่งของรัฐบาลไทยมาทุกยุคทุกสมยั โดยเฉพาะสถานการณ์ปัจจุบนั หลังเหตุปล้นอาวุธปื นกองพันทหารที่ อ.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาส เมื่อต้นปี พ.ศ.๒๕๔๗ เรื่อยมา เหตุการณ์ไดท้ วีความรุนแรงข้ึน ถึงแมร้ะยะหลงัจะควบคุมสถานการณ์ไดบ้ า้งแต่ทางรัฐบาลไทยก็ เป็นฝ่ายต้งัรับมากกว่า โดยเฉพาะฝ่ายผูก้่อความไม่สงบได้พยายามยกระดับความขดัแยง้ในพ้ืนที่ ซึ่งรัฐบาลไทยถือว่าเป็ นความขัดแยง้ภายในให้ข้ึนสู่เวทีระดับโลกเช่น องค์การสหประชาชาติ, องค์การประเทศมุสลิมโลก, อาเซียน ฯลฯ เพื่อน าไปสู่การลงประชามติว่าจะอยู่กับรัฐไทยหรือแยก ไปปกครองตนเอง ดังเช่นที่เกิดมาแล้วที่ประเทศติมอร์ตะวันออก, บอสเนีย หรือกัมพูชา จนมี ตัวแทนองค์การระหว่างประเทศ, ผู้ศึกษาค้นคว้าอิสระ เข้ามาศึกษารวบรวมข้อมูลว่าความขัดแย้งใน พ้ืนที่มีข้อเท็จจริงหรือพยานหลักฐานเพียงพอ ตามหลักเกณฑ์การก าหนดใจตนเองของ สหประชาชาติหรือไม่เพียงไร อยู่ในพ้ืนที่บางส่วนแลว้ เพื่อเป็นการศึกษาวิจัยในเชิงป้องกันมิให้ ดินแดนแห่งน้ีถูกแยกตวัออกไปเป็นอิสระ จึงได้ท าการศึกษาตามหัวข้อ “ปัญหาการก่อความไม่ สงบในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้กับแนวโน้มการแบ่งแยกตวั ตามหลกัการกา หนดใจตนเอง” ห รื อ The Problem of Southern Border Provinces Terrerist and The Principle of Self Determination For The People in the Future ผลการศึกษาตามเหตุการณ์คร้ังแรกที่ถือว่ามีการเคลื่อนไหวแบ่งแยกดินแดน คือกบถ ดุชงญอ ที่ จ.นราธิวาส เมื่อ พ.ศ.๒๔๙๑ จนถึงเหตุการณ์ตากใบ, กรือแซะ แรสังหารหมู่ที่มัสยิสไอปาแย ฯลฯ ยังไม่ข้อเท็จจริงหรือความรุนแรงเพียงพอที่จะกล่าวหารัฐไทย ในการล่วงละเมิดด้วย กา ลงัทหารโดยผิดกฎหมาย เช่นการกดขี่ด้านเช้ือชาติศาสนา วฒั นธรรม ยงัถือเป็นความขดัแยง้ ภายในประเทศที่รัฐบาลไทยพยายามแก้ไขตามหลักการบริหารบ้านเมืองที่ดี น าหลักนิติธรรมมา เป็ นหลักในการด าเนินคดีอาญา และที่ส าคัญที่สุดคือการโน้มน าเอาพระบรมราโช วาทของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันที่ว่า “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” มาใช้เป็ นหลักในการ แก้ปัญหา ถึงแมว้่าจะยงัปรากฏข่าวสารการก่อเหตุหรือละเมิดต่อชีวิต ร่างกาย ทรัพยส์ิน ท้งัต่อ ฝ่ ายผู้ก่อความไม่สงบหรือเจ้าหน้าที่รัฐอยู่เนือง ๆ แต่เป็ นการขัดแย้งในระดับธรรมดา จาก ขอ้ เท็จจริงที่เกิดข้ึนในทางประวตัิศาสตร์ ซ่ึงท้งัรัฐไทยและรัฐปัตตานีมีสภาพเป็นเพียงนครรัฐ (city State) ไม่ใช่รัฐชาติสมัยใหม่ (Nation State) เช่นในปัจจุบัน การผนวกหรือรวมดินแดนใน อดีตเป็นเพียงการยอมรับในอ านาจและ...ของรัฐไทยที่ใหญ่กว่าเท่าน้ัน มิได้เป็นการใช้กา ลงัรุกล้า กดขี่ข่มเหงดังเช่นที่อินโดนีเซียปฏิบัติต่อติมอร์ หรือเวียดนามปฏิบัติต่อกัมพูชา แต่อย่างใด เมื่อ พิจารณาจากบทบัญญัติหรือหลักเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ในสิทธิการก าหนดใจตนเอง (The Right of Self – Determination) ตามมติของสมัชชาใหญ่ของสหประชาชาติที่ ๑๕๑๔ (XV)ลงวันที่ ๑๔ ธันวาคม ๑๙๖๐ เรื่องการให้เอกราชแก่ดินแดน อาณานิคม (Declaration on the Granting of Independence to Colonial Countries and Peoples) ท้งัปัจจัยภายใน คือประชาชนในพ้ืนที่ยงัมี สิทธิอิสระในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ฯลฯ เช่นเดียวกับพ้ืนที่อื่น ๆ ในประเทศไทย ถึงแม้ จะอ่อนด้อยอยู่บ้างแต่ก็อยู่ในระหว่างการพัฒนาปรับปรุงแก้ไขอย่างที่ปรากฏ ส่วนปัจจัยภายนอกที่ จะถือว่าทางรัฐบาลไทยท าการผลักดัน แทรกแซงโดยกองก าลังอาวุธจากภายนอก (Foreign Arman Intervention) และยึดครองโดยมิชอบด้วยกฎหมาย (Occupation) ดังที่ปรากฏในกัมพูชาหรือติมอร์ ตะวันออกก็มิได้ เนื่องจากอดีตและปัจจุบันของรัฐไทยก็มีความสัมพันธ์แบบหลวม ๆ กลมกลืนกัน มาจนเกิดเป็ นรัฐชาติ (NATION STATE) สมัยใหม่ร่วมกัน คือเป็ นส่วนหนึ่งซึ่ งกันและกันมาแต่ อดีต มิได้ถือว่าเป็นการใช้ก าลังรุกรานด้วยก าลังอาวุธและยึดครอง แต่การด ารงก าลังทหาร, ต ารวจ ไวใ้นพ้ืนที่จา นวนมากก็เป็นเพียงการแก้ไขปัญหาความขดัแยง้ภายในประเทศเท่าน้ัน จึงไม่ถือว่า เข้าหลักเกณฑ์ที่จะลงประชามติเพื่อก าหนดใจตนเองแต่อย่างใด ปัญหาการก่อความไม่สงบในพ้ืนที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ถึงแม้ว่า ณ ปัจจุบันยัง ไม่มีข้อเท็จจริงหรือหลักฐานเพียงพอที่จะน าไปสู่การแยกตัวไปเป็ นอิสระ ตามหลักการก าหนดใจ ตนเอง (The Principle of Self Determination) แต่ฝ่ ายตรงข้ามยังคงด ารงเป้าหมายในการแยกตัว เป็นรัฐอิสระอยู่ตลอดเวลา ดังน้ันรัฐบาลไทยจึงจ าเป็ นต้องศึกษาวิจัยปัญหา สาเหตุ และแนวทาง การแก้ไข ซึ่งจากการศึกษาพบว่ามีปัญหาหลักมาจากกระบวนการแบ่งแยกดินแดน น าโดย B.R.N. COORBINATE เป็นแกนน าก่อเหตุร้ายรายวนั หรือจบัอาวุธข้ึนต่อสู้กบั เจ้าหนา้ที่รัฐ โดยมีปัญหารองคือการบริหารจัดการที่ด้อยประสิทธิภาพของรัฐบาลไทย ในด้านการศึกษา, การแพร่ระบาดยา เสพติด, พฤติการณ์ไม่เหมาะสมของเจ้าหน้าที่รัฐ, ความล้มเหลวในการน านโยบายน าไปสู่การ ปฏิบัติ, ขาดเอกภาพ, ความไม่เป็ นธรรมในการบังคับใช้กฎหมาย และปัญหาเสริมด้านความเหลื่อม ล้า และไม่เข้าใจด้านการเมือง, ประวตัิศาสตร์,ความยากจน, มุมมองทางจิตวิทยาเชิงลบระหว่าง วฒั นธรรม ฯลฯ จึงเห็นควรแกไ้ขโดยใช้มาตรการเชิงรุกแบบคู่ขนานท้งัการเมืองและการทหารคือ การเมืองยึดแนวทางสมานฉันท์, สันติวิธี เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา อย่างเขม้แข็งและยงั่ ยืน ประสาน กับมาตรการทางทหาร คือปราบปรามกองก าลังติดอาวุธทุกกลุ่ม เพื่อท าลายโครงสร้างสงครามที่ ขบวนการแบ่งแยกดินแดนก่อข้ึนอย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ยงั่ ยืน จึงจะสามารถยุติปัญหาน้ีลงได้ ABSTRACTTitle : By : Police Colonel Major Field : Military Research Advisor : Colonel (Kittipuak Thongteerathum) July 2010

abstract:

ไม่มี