เรื่อง: แนวทางการพัฒนาการสอบสวนอากาศยานอุบัติเหตุของกองทัพบก
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. กฤษณะ บุญน้อม
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2551
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : แนวทางการพัฒนาการสอบสวนอากาศยานอุบัติเหตุของกองทัพบก
โดย : พ.อ. กฤษณะ บุญน้อม
สาขาวิชา : วิทยาศาสตร์
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก …………………...............………….
( พิษณุ เอกระ )
กรกฎาคม ๒๕๕๓
สถิติอากาศยานอุบัติเหตุใหญ่ในรอบ ๑๐ ปี ที่ผ่านมา ของกองทัพบก มีอุบัติเหตุใหญ่ ต ่าสุด
ปี ละ ๑ ราย อุบัติเหตุใหญ่สูงสุดปีละ ๔ ราย เมื่อเปรียบเทียบกับชั่วโมงบินของแต่ละปีมีอัตรา
อุบตัิเหตุใหญ่สูงสุด ๑๗.๙๒ รายต่อแสนชั่วโมงบิน และกองทัพอากาศ มีอตัราการเกิดอุบตัิเหตุ
ใหญ่ต ่าสุดปี ละ ๑ ราย อุบัติเหตุใหญ่สูงสุดปีละ ๘ ราย เมื่อเปรียบเทียบกบั ชวั่ โมงบินของแต่ละปีมี
อตัราอุบตัิเหตุใหญ่สูงสุด ๑๓.๑๙ รายต่อแสนชวั่ โมงบิน สถิติการเปรียบเทียบขา้งตน้ เป็นเพียงสิ่งที่
ช่วยท าให้มองเห็นถึงความร้ายแรงของอุบัติเหตุที่เกิดกับอากาศยานอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเกิดกับ
หน่วยงานใดย่อมก่อให้เกิดความสูญเสียอย่างมาก แม้ว่าแต่ละหน่วยงานได้ใช้ความพยายามในการ
แก้ไข และป้องกันแล้วก็ตาม
กระบวนการสอบสวน การสอบสวนอากาศยานอุบัติเหตุ เป็ นการด าเนินการวิเคราะห์หา
สาเหตุที่แท้จริงของอากาศยานอุบัติเหตุเพื่อน าไปใช้ป้องกันอุบัติเหตุไม่ให้เกิดซ้ าข้ึนอีก จึง
จา เป็นตอ้งมีข้นั ตอนการดา เนินงานอย่างเป็นระบบ ข้นั ตอนของงานสอบสวนอากาศยานอุบัติเหตุ
สามารถกล่าวโดยสรุปได้คือการเตรียมแผนการปฏิบตัิการสอบสวนอากาศยานอุบตัิเหตุข้นั ต้น
การส ารวจในสนาม การรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์หาสาเหตุ การออกการแก้ไขและ
ขอ้ เสนอแนะ ส่วนการจัดคณะกรรมการสอบสวน จะเป็นรูปแบบใด น้ันย่อมข้ึนอยู่กับ แบบ
ลักษณะ ขนาด และความรุนแรงของอากาศยานอุบัติเหตุแต่ละรายที่แตกต่างกันไป โดยมีการจัด
คณะกรรมการสอบสวนให้สอดคล้องกับงานสอบสวนในแต่ละกรณี
องค์กรการสอบสวน ในส่วนของการบินพลเรือน ก ากับดูแลโดยกรมการขนส่งทาง
อากาศ กระทรวงคมนาคม คณะกรรมการสอบสวนอากาศยานอุบัติเหตุในราชอาณาจักร มีกรรมการไม่เกิน ๑๘ คน โดยมีปลัดกระทรวงคมนาคม เป็น ประธานกรรมการ ซึ่งมีหน้าที่ สอบสวน
อากาศยานพลเรื อนประสบอุบัติเห ตุในราชอาณาจักร ตามอ านาจหน้าที่ที่บัญ ญัติไว้ใน
พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ.๒๔๙๗
กองทัพอากาศ มีองค์กรการสอบสวนที่ก ากับดูแลโดยส านักงานนิรภัยทหารอากาศ
คณะกรรมการการสอบสวนอากาศยานอุบัติเหตุ มี ๓ ระดับ คือ ระดับกองทัพอากาศ ระดับ
ส านักงานนิรภัยทหารอากาศ และระดับกองบิน
กองทัพบก ยงัไม่มีการจัดต้งัองค์กรใดข้ึนมากา กับดูแลการสอบสวนอากาศยานอุบัติเหตุ
โดยตรง มีเพียงการแต่งต้งัคณะกรรมการให้มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการสอบสวนอากาศยานอุบัติเหตุ
๒ กลุ่ม คือ
๑. กลุ่มการสอบสวนเพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุของอากาศยานอุบัติเหตุ
๒. กลุ่มการสอบสวนทางธุรการและความผิดทางละเมิด
ในส่วนของคณะกรรมการวิเคราะห์สาเหตุอากาศยานอุบัติเหตุ แบ่งออกเป็ น ๒ ระดับ คือ
ระดับกองทัพบกและระดับหน่วยบิน
ปัญหาที่พบ ในการสอบสวนอากาศยานอุบัติเหตุกองทัพบกคือการแต่งต้งัคณะกรรมการ
สอบสวนในลักษณะเฉพาะกิจ(แต่งต้งัทุกวงรอบ ๖ เดือน)และการขาดผู้เชี่ยวชาญในการสอบสวน
ของกองทัพบก เนื่องจากยังไม่มีระบบการพัฒนาบุคลากรการสอบสวนที่เหมาะสมและต่อเนื่อง ท า
ให้ประสิทธิภาพในการสอบสวนลดน้อยด้อยลงกว่าที่สมควรจะเป็น
จากการศึกษามีข้อเสนอแนะในการพัฒนาการสอบสวนดงัน้ี
๑. จัดต้งัองค์กรรับผิดชอบดา เนินการสอบสวนอากาศยานอุบัติเหตุข้ึนมาในกองทพั บก
เพื่อให้เป็ นหน่วยงานที่ท าหน้าที่ก ากับดูแลด้านความปลอดภัยและการสอบสวนเช่นเดียวกับ
ส านักงานนิรภัยทหารอากาศ
๒. ด าเนินงานพัฒนาความรู้ความสามารถบุคลากรด้านการสอบสวนอากาศยานอุบัติเหตุ
โดยการจดั สรรงบประมาณเป็นทุนในการศึกษาอบรมท้งัภายในประเทศและต่างประเทศ
๓. ก าหนดกฎระเบียบของกองทัพบกให้มีความเหมาะสมดงัน้ี
ก. ก าหนดกฎระเบียบเกี่ยวกับการสอบสวนทางธุรการ และการสอบสวนทางการ
ละเมิด ให้แยกออกจากการสอบสวนเพื่อวิเคราะห์สาเหตุอากาศยานอุบัติเหตุโดยเด็ดขาด
ข.กา หนดกฎระเบียบให้มีการแต่งต้งักรรมการสอบสวนอากาศยานอุบตัิเหตุเพื่อ
การวิเคราะห์สาเหตุใหม่ โดยพิจารณาแต่งต้งัตามตา แหน่งผูท้ ี่มีความรู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ท้ังน้ี
ต้องด าเนินการตามข้อเสนอแนะข้อ ๑ และข้อ ๒ ส าเร็จแล้ว
๔. จัดให้มีอุปกรณ์สนับสนุนด้านการสอบสวน ติดต้งับนอากาศยานของกองทพั บกเช่น
อุปกรณ์บันทึกข้อมูลการบิน FDR (Flight Data Record) อุปกรณ์บันทึกเสียงในห้องนักบิน CVR
(Cockpit Voice Record)
abstract:
ABSTRACT
Title : Improvement of Army Aircraft Accident Investigation
By : Colonel Krisna Boonnorm
Major Field: Scientific
Research Advisor : Group Captain ……………………………
(Pisanoo Agkara)
July 2010
Aircraft accident in state aircraft during last 10 years happened every year, the
maximum accident per year of army aircraft accident is 4 mishap and the maximum
accident per year of air force aircraft accident is 8 mishap. Every mishap destroy
government property and cause fatal to aviation personal although they have procedure
to preventive accident and it mandatory to do that but the mishap still occur . The best
thing to solve that problem will be done by investigate the accident to find out the
reason that cause of that accident and present the Practical Recommendation .
The fundamental objective of the investigation of an accident or incident shall
be the prevention of an accident and incident , it is not the purpose of this activity to
apportion blame or liability.
The process of aircraft accident investigation is initial action by planning ,
preliminary investigation action , field survey , collecting data and evident , analysis
, recommendation .
Aircraft accident investigation board will set teamwork of investigation
suitable to each accident . There are different type of teamwork in each organize such
as aircraft accident investigation teamwork in kingdom of Thailand , aircraft accident investigation teamwork of royal Thai air force and royal Thai army aircraft accident
investigation teamwork .
To compare each teamwork in variety dimension then can found the point that
could improve proficiency of army aircraft accident investigation teamwork by setting
specific organize to responsible for army aircraft accident investigation and create
expert investigator step by step , in the way of educated investigation personal
systematically.