เรื่อง: พฤติกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพของข้าราชการทหาร กรณีศึกษาหน่วยศูนย์การทหารม้า
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. อำนาจ นาคีรักษ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2550
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : พฤติกรรมการออกก าลังกายเพื่อสุขภาพของข้าราชการทหาร
: กรณีศึกษาหน่วยศู นย์การทหารม้า
โดย : พันเอก อ านาจ นาคีรักษ์
สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาเอก …………………………….
(ศุภเศรษฐ์ ศิริสังขไชย)
สิงหาคม ๒๕๕๒
การออกก าลังกายเพื่อสุขภาพช่วยท าให้สมรรถภาพทางกาย หรือสุขภาพสมบ รณ์
แข็งแรงและลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ ลงได้มาก นอกจากน้ี ยังเป็นการชะลอความแก่ หรือ
ช่วยให้เป็นผ ส้ งอายุที่มีสุขภาพ และ คุณภาพชีวติที่ดีข้ึน อีกท้งัยงัช่วยประหยดัค่าใชจ้่ายในการ
รักษาพยาบาล ช่วยลดเวลาที่จะต้องใช้หยุดงานจากการเจ็บป่ วย
ศ นย์การทหารม้าเป็นหน่วยงานหนึ่งของกองทัพบก ประกอบด้วยบุคลากรท้งั
นายทหารสัญญาบตัร นายทหารช้นั ประทวน ล กจา้ง ซ่ึงบุคลากรเหล่าน้ีเป็นกลไกในการทา ให้
ศ นย์การทหารม้า บรรลุเป้าหมายในการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายได้เป็นอย่างดี
ส ำหรับกำรวิจยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์ เพื่อศึกษำพฤติกรรมกำรออกก ำลังกำยเพื่อสุขภำพ
ของข้ำรำชกำรทหำรศูนย์กำรทหำรม้ำจ ำแนกตำมปัจจัยส่วนบุคคล ควำมรู้ควำมเข้ำใจในเรื่องกำรออก
ก ำลังกำยเพื่อสุขภำพของข้ำรำชกำรทหำรศูนย์กำรทหำรม้ำ และ พฤติกรรมกำรออกก ำลังกำยเพื่อ
สุขภำพของข้ำรำชกำรทหำรศูนย์กำรทหำรม้ำ
การวิจัยในคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเชิงส ารวจ ( SURVEY RESEARCH ) โดยการออก
แบบสอบถามกลุ่มตัวอย่าง คือข้าราชการทหารสังกัดศ นย์การทหารม้า จ านวน ๓๐๒นาย
กรอบในการศึกษาคร้ังน้ีตวัแปรต้นที่น ามาศึกษาคือปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ เพศ
ช้นัยศ ระดับการศึกษา และความร ้ในเรื่องการออกก าลังกายเพื่อสุขภาพ ส าหรับตัวแปรตามได้แก่
พฤติกรรมการออกก าลังกายเพื่อสุขภาพ
ผลจากการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างทุกคนเป็นเพศชาย ส่วนใหญ่มีอายุ ๔๗ - ๕๑ ปี มี
ค่าดัชนีมวลกายอย ่ในเกณฑ์ปกติ มีสถานภาพสมรส มีการศึกษาในระดับต ่ากว่าปริญญาตรีหรือ
เทียบเท่า และเป็นนายทหารช้ันประทวน โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความร ้เรื่องการออกก าลัง
กายเพื่อสุขภาพปานกลางส่วนพฤติกรรมการออกก าลังกายเพื่อสุขภาพ พบว่า ทุกคนมีการออกก าลังกาย
แต่ส่วนใหญ่มีการออกก าลังกายที่ไม่ถ กต้องและจากสมมติฐานที่ต้ังไว้ว่าข้าราชการทหารศ นย์
การทหารม้าที่มีอายุ ช้ันยศ ระดับการศึกษา ต่างกันจะมีพฤติกรรมการออกก าลังกายเพื่อสุขภาพที่
ต่างกัน พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่าง ช้ันยศ ระดับการศึกษากับพฤติกรรมการออกก าลังกายเพื่อ
สุขภาพมีความสัมพันธ์กันเป็นไปตามสมมติฐานที่ก าหนด ยกเว้นเฉพาะปัจจัยด้าน อายุ ที่พบว่าไม่
มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออกก าลังกายเพื่อสุขภาพและสมมติฐานที่ต้ังไว้ว่าข้าราชการ
ทหารศ นย์การทหารม้าที่มีความร ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกก าลังกายเพื่อสุขภาพ จะมีพฤติกรรม
การออกก าลังกายเพื่อสุขภาพที่ถ กต้อง พบว่าความสัมพันธ์ระหว่างผ ้ที่มีความร ้เรื่องการออกก าลังกาย
เพื่อสุขภาพกับพฤติกรรมการออกก าลังเพื่อสุขภาพที่ถ กต้องมีความสัมพันธ์กัน เป็ นไปตามสมมติฐานที่
ก าหนด
ข้อเสนอแนะจากการศึกษาวิจัย คือ ศ นย์การทหารม้าควรรณรงค์และจัดกิจกรรม
ให้ก าลังพลและครอบครัวได้ออกก าลังกายเพื่อสุขภาพที่ถ กต้องอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
abstract:
ABSTRACT
Title : The Exercise Behavior for Health of Military Officers:
CaseStudy in Cavalry Center
By : Colonel Amnat Nakeeraks
Major Field : Socio-psychology
Research Advisor: Captain RTN.
(Supaset Sirisungchai )
August 2009
The Exercise behavior for health increases physical capabilityand reduces the risk of
getting diseases. Besides, it helps reduce agingor help elderly persons to have good health and
promotes betterquality of life. In addition, it also helps in reducing treatment expenses
and the time for sick leaves.
The Cavalry Center is a subordinate of the Royal Thai Army which
composes of the personnel such as officers, noncommissioned officers, and employee.
These personnel are the major mechanism of the Cavalry Center to accomplish its
mission.
The objective of this research is to study the exercise behavior for health of
the personnel in the Cavalry Center with the following factors: the personal factors,
comprehensive knowledge, and the exercise behavior for health of the personnel in the
Cavalry Center. This research project is a survey research by designing questionnaires for a
sample group of the personnel of the Cavalry Center. There are a total of 302
personnel responding to the questionnaires.
Independent variables are the personal factors (age, gender, rank, and education
level) and comprehensive knowledge in health behavior. Dependent variable is the
exercise behavior for health.
The results indicate that all of the samples are male personnel with the age
range of 47-51 years old. Most of them are non-commissioned officers with the normal
level body mass index (BMI). Most of them are married and their education is below
the undergraduate level. Most of the sample group has medium comprehensive
knowledge of health. The responses from the questionnaires indicate that most of the
personnel have a regular exercise but their exercise behavior is incorrect. According to
the hypothesis, the personnel of the Cavalry Center with different ages, ranks, and
education levels will have different exercise behaviors for health. The results indicate
that ranks and education levels have relationship with the exercise behavior for health
as stated in the hypothesis. However, the results also indicate that the age factor has no
relationship with the exercise behavior for health. Another hypothesis states that the
personnel of the Cavalry Center with the comprehensive knowledge and understanding
of the exercise for health will have correct exercise behavior for health. The results
indicate that there is a relationship between the personnel with the comprehensive
knowledge and understanding of the exercise for health and the correct exercise
behavior for health as stated in the hypothesis.
The recommendation from this research is that the Cavalry Center should promotea
suitable exercise campaign and activitiesfor the personnel and their families.