เรื่อง: ผลกระทบจากการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินต่องานในกระบวนการยุติธรรม
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, นาย สุนทรา พลไตร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2550
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : ผลกระทบจากการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินต่องานในกระบวนการยุติธรรม
โดย : สุนทรา พลไตร
สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก
(อุนฤทธิ์ นวลอนงค์ )
28 กรกฎาคม 2552
การศึกษาเชิงคุณภาพคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบจากการประกาศ
สถานการณ์ฉุกเฉินภายใต้พระราชก าหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘
ต่องานในกระบวนการยุติธรรม และศึกษาความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการยุติธรรมต่อ
การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ภายใต้พระราชก าหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน
พ.ศ. ๒๕๔๘ กลุ่มตัวอย่างคัดเลือกแบบจ าเพาะเจาะจงตามเกณฑ์ก าหนด จากเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน
ในกระบวนการยุติธรรม ท้ังระดับผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานซ่ึงอยู่ในพ้ืนที่ที่มีการประกาศ
สถานการณ์ฉุกเฉิน ท าการศึกษาระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนมิถุนายน ๒๕๕๒ เก็บรวบรวม
ข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกตามโครงสร้างค าถามที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย
ผลการวิจัยได้ข้อค้นพบ ๓ ประเด็น ได้แก่ผลกระทบต่องานในกระบวนการยุติธรรม
ความคิดเห็นต่อการปฏิบัติงานในสถานการณ์ฉุกเฉิน ตามพระราชก าหนดการบริหารราชการใน
สถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ และ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับพระราชก าหนดการบริหารราชการใน
สถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘
ประเด็นผลกระทบต่องานในกระบวนการยุติธรรมพบว่า การประกาศสถานการณ์
ฉุกเฉินตามพระราชก าหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ไม่มีผลกระทบ
ต่องานในกระบวนการยุติธรรมแต่เป็นเพียงการเปลี่ยนแปลงระบบการทา งาน โดยไดเ้พิ่มอา นาจให้
เจ้าหน้าที่ฝ่ ายบริหารเพื่อแก้ไขให้สถานการณ์กลับสู่ความสงบโดยเร็ว
ความคิดเห็นต่อการปฏิบัติงานในสถานการณ์ฉุกเฉิน พบว่าภายใต้พระราชก าหนดการ
บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ การปฎิบัติงานในสถานการณ์ฉุกเฉินตามพระ
ราชก าหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ เป็ นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงานกล่าวคือมีกฎหมายรองรับในการปฏิบัติงาน ซึ่งเมื่อได้กระท าการตามกฎหมายที่ก าหนดแล้วจะไม่
ต้องรับโทษท้ังทางแพ่งและทางอาญาและทางวินัย แต่มีโอกาสถูกยื่นฟ้องเพื่อช้ีมูลความผิดจาก
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติหรือ ส านักงานป้องกันและปราบปราม
การทุจริตภาครัฐ กระทรวงยุติธรรม
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับพระราชก าหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.
๒๕๔๘ คือ ๑) ควรมีการปรับเปลี่ยนบทบัญญัติในประเด็นการน าเรื่องเข้าที่ประชุมคณะรัฐมนตรี
จากภายใน ๓ วันเป็ น ๗ วันเพื่อเกิดความสะดวกในการปฏิบัติงานของฝ่ ายบริหาร ๒) การก าหนด
ระยะเวลาในการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินควรประเมินจากสถานการณ์เป็ นหลัก มากกว่าการ
ก าหนดตามระยะเวลาทุก ๓ เดือน ๓)ควรมีการสร้างความเขา้ใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับเน้ือหาพระ
ราชก าหนดสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ให้เกิดความกระจ่าง และบทบัญญัติที่ได้ก าหนดโทษ
ตามพระราชก าหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ ควรมีการแก้ไขโดยเพิ่ม
อัตราโทษของผู้ที่รู้ว่าการกระท าของตนเป็นความผิดแล้วยังฝ่ าฝื นต่อบทบัญญัติดังกล่าว
ค าส าคัญ: สถานการณ์ฉุกเฉิน / พระราชก าหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน /
กระบวนการยุติธรรม ๔๗ หน้า
abstract:
ABSTRACT
Title : Impact of State of Emergency Declaration on the Work of Justice
Administration
By : Mr. Suntara Pontrai
Major Field : Social-Psychology
Research Advisor : Colonel
( Unarit Nualanong )
28 July 2009
The objectives of this qualitative research study were to determine the impact
of state of emergency declaration under the emergency decree B.E. 2548 toward justice
administration and to investigate the opinion of the officials in justice administration
about the state of emergency under the emergency decree B.E. 2548. The sample group
was selected by purposive sampling with determined criteria from the officials for both
executives and operative officials in justice administration in the area of state of
emergency. The study was conducted during May to June 2009 and the data was
collected by in depth interview following the consistent questions to the study objectives.
The study revealed that there were 3 areas of the impacts which were the
impact toward the work in justice administration, the opinion about the operations in the
state of emergency under the emergency decree B.E. 2548 and the recommendations
about the emergency decree B.E. 2548.For the impact on the work in justice administration, it was found that the state
of emergency declaration under the emergency decree B.E. 2548 had no impact on the
work in justice administration, however, it changed the work system by increasing power
to administrative officials to resolve the situation for the soonest peace.
For the opinion about the operations in the state of emergency it was found that
under the emergency decree B.E. 2548 the operations in the state of emergency were
helpful to the officials, in other words, there was a law enforcement for the operation as
they could work in accordance with the law and they did not have to be punished for
both civil and criminal punishment and discipline. However, they could be sued by The
National Counter Corruption Commission or Office of Prevention and Counter
Corruption, Ministry of Justice.
The recommendations on the emergency decree B.E. 2548 were that 1) there
should be adjustment of issues to be in the meeting of the cabinets from within 3 days to
7 days in order to be more convenient in the operation of the administrative department,
2) to determine the period of state of emergency declaration should be done with the real
situation evaluation instead of determining it every 3 months and 3) understanding
should be given to the general public about the content of the emergency decree B.E.
2548 in order to clarify the decree, in addition, the punishment statement following the
emergency decree B.E. 2548 should be amended by increasing the scale of punishment
to those who knew that their actions were against the law and violated such statement.