Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: บทบาทอาสาสมัครแรงงานในการแก้ไขปัญหาแรงงานต่างด้าว

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, นาย สิทธิศักดิ์ ธารนัย
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2550
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : บทบาทอาสาสมัครแรงงานในการแก้ไขปัญหาแรงงานต่างด้าว โดย : นายสิทธิศักดิ์ ธารนัย สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก …………………...............…………. ( มนูธรรม เนาว์นาน) วัน สิงหาคม ๒๕๕๒ ปัญหาแรงงานต่างด้าว ๓ สัญชาติ (พม่า ลาว กัมพูชา) เป็นปัญหาที่ไดร้ับความสนใจเพิ่มข้ึน ตลอดเวลาซ่ึงแรงงานต่างด้าวเหล่าน้ีคือ บุคคลที่เกี่ยวขอ้งกบักิจกรรมในชีวิตประจา วนัของเรา เช่น ผู้รับใช้ในบ้าน ลูกจ้างในกิจการประมงทะเล หรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับอาหารทะเล เกษตรกรรม งานก่อสร้าง แรงงานต่างดา้วเหล่าน้ีเมื่อมองในแง่บวกได้กลายเป็นส่วนส าคัญในการผลักดันเศรษฐกิจ ของประเทศไทยท้ังทางตรงและทางอ้อม รัฐบาลในแต่ละยุคจึงมีนโยบายที่จะอนุญาตให้จ้าง แรงงานต่างดา้วกลุ่มน้ีได้เป็นการชั่วคราวปีต่อปีโดยเริ่มต้งัแต่ปีพ.ศ.๒๕๓๕ เป็ นต้นมาและมีการ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงนโยบายต่างๆ มาเป็นระยะๆ อย่างต่อเนื่อง กระทรวงแรงงาน เป็ นหน่วยงานหลักในการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว ๓ สัญชาติ (พม่า ลาว กัมพูชา) ที่หลบหนีเข้าเมืองให้เข้าสู่ระบบที่ถูกต้องตามกฎหมาย โดยก าหนดยุทธศาสตร์ ในการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวท้งัระบบไว้๗ ดา้น การด าเนินงานที่ผ่านมามียอดจ านวนต่าง ด้าวส่วนหนึ่งเป็ นยอดที่ยังหลบซ่อนอยู่และไม่ได้รับการจดทะเบียนต่ออายุใบอนุญาตท างานอย่าง ถูกต้องเป็นเพราะแรงงานต่างด้าวและนายจ้างส่วนน้ีไม่เข้าใจข้นั ตอนวิธีการปฏิบตัิไม่รับรับรู้ข่าวสาร ข้อมูล จึงไม่สามารถมาจดทะเบียนต่อใบอนุญาตท างานได้ทันตามก าหนดเวลา เนื่องจากมีปัญหาใน การสื่อสารท าความเข้าใจ ส่งผลให้การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว ๓ สัญชาติ (พม่า ลาว กัมพูชา) ของกระทรวงแรงงาน ยังไม่ประสบผลส าเร็จ จึงท าให้เกิดความสนใจที่จะศึกษาถึงการใช้ อาสาสมัครแรงงานเป็นเครื่องมือที่จะช่วยแก้ไขปัญหาดังกล่าว เอกสารวิจยัฉบบั น้ีมุ่งศึกษาถึงบทบาทของอาสาสมัครแรงงานตามที่กระทรวงแรงงานได้ จดั ต้งัข้ึน และค้นหาถึงวิธีในการแก้ไขปัญหาเพื่อช่วยเสริมการแก้ไขปัญหาแรงงานต่างด้าว ๓สัญชาติ (พม่า ลาว กัมพูชา) ในการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว ๓ สัญชาติ (พม่า ลาว กัมพูชา) ของกระทรวงแรงงานให้ประสบผลส าเร็จ การศึกษาวิจัยน้ีเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกในประเด็น สัมภาษณ์เดียวกันทุกกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งเป็ นเจ้าหน้าที่ของรัฐที่มีหน้าที่ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับแรงงาน ต่างด้าว ๓ สัญชาติ (พม่า ลาว กัมพูชา) และดูแลการปฏิบัติงานของอาสาสมัครแรงงานของกระทรวง แรงงาน นายจ้างเจ้าของสถานประกอบการ ผู้ปฏิบัติงานขององค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) ด้าน แรงงาน และอาสาสมัครแรงงาน รวมจ านวน ๑๓ คน ผลการศึกษา พบว่าอาสาสมัครแรงงานจะมีบทบาทในการช่วยเหลือแก้ไขปัญหาแรงงาน ต่างด้าว ๓ สัญชาติ (พม่า ลาว กัมพูชา) ได้โดยมอบหมายให้ปฏิบัติตามตามยุทธศาสตร์การ ประชาสัมพันธ์การจัดระบบแรงงานต่างด้าว ซึ่ งมีมาตรการประชาสัมพันธ์ คือ เน้นการ ประชาสัมพันธ์เพื่อบรรลุเป้าหมายในการสร้างความตื่นตัว ก่อให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง และเกิด ความร่วมมือ รณรงค์ปลูกจิตส านึกให้นายจ้างลดการจ้างแรงงงานต่างด้าวผิดกฎหมาย ซึ่งตรงกับ ความต้องการของนายจ้าง และตรงกับความคาดหวังของกระทรวงแรงงาน แต่ต่างกันตรงที่มุมมอง ของนายจ้างเจ้าของสถานประกอบการ และผู้ปฏิบัติงานของกลุ่มองค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) ด้าน แรงงานต้องการให้อาสาสมัครแรงงาน แนะน าหนทางปฏิบัติที่แก้ไขปัญหาได้จริง มิใช่บทบาทที่ กระท าในลักษณะเป็นตัวแทนของภาครัฐที่เพียงแต่รับนโยบายมาแล้วบอกต่อแต่ปฏิบัติไม่ได้ ข้อเสนอแนะ ๑.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เห็นควรมีแผนแม่บทรองรับนโยบายการบริหารจัดการ แรงงานต่างด้าว ๓ สัญชาติ (พม่า ลาว กัมพูชา) ที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม ๒.ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติการ ควรมีการอบรมภาษาเพิ่มเติมให้กับอาสาสมัครแรงงาน เพื่อติดต่อสื่อสารกับกลุ่มแรงงานต่างด้าว บทบาทการแสดงออกควรให้มีความน่าเชื่อถือและไว้วางใจ ต้องท างานด้วยความเต็มใจเสียสละในบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายโดยให้เข้าถึงทุกกลุ่มเป้าหมายและ ประชาชนทวไป เพื่อปลูกจิตส านึกใ ั่ ห้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา ๓.ข้อเสนอแนะเชิงวิชาการ ควรศึกษาวิจัยเพิ่มเติมเกี่ยวกบั บทบาทหนา้ที่ของอาสาสมคัร แรงงานโดยละเอียด เพื่อน าไปสู่การจัดท าแผนแม่บทการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครแรงงาน ให้เป็ น แนวทางการปฏิบัติแก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและอาสาสมัครแรงงานต่อไป.

abstract:

ABSTRACT Title : Roles of labor volunteers in solving foreign labor problems By : Mr.SITTHISAK TARNNAI Major Field: Social Psychology Research Advisor : Group Captain …………………………… (Manuthan Naonan) Date Month Year Three nations (Myanmar, Lao and Cambodia) related foreign labor problems are always increasingly interesting. These foreign labors are persons involving our routine activities, i.e., servants, employees in marine fishery business or businesses relating to seafood, agriculture, construction. When considering these foreign labors in positive view, they become a significant factor in directly or indirectly driving the economy of Thailand. Each government, thus, has its policies to permit temporary employment of these groups of foreign labors on year-to-year basis, commencing in 1992 onwards and various policies, from time to time, have been continuously improved and amended. The Ministry of Labor and Social Welfare is a principal work agency in administrating immigrant labors of three nations (Myanmar, Lao and Cambodia) escaping to the country into legal system that designates 7 foreign labor administrative strategies for the entire system. Base on the previous performance, immigrant workers of certain number are still hiding and are not correctly registered for work permits renewal because the immigrant workers and employers on this part fail to understand procedures, steps, practices to be pursued. They lack of information, then, they are *unable to be timely registered for work permits renewal due to communication related issues. This makes the administration of immigrant labors of three nations (Myanmar, Lao and Cambodia) is still unsuccessful and a study of using volunteers as a tools for tackling such problems is, consequently, initiated. This research focuses on the study of roles of the volunteers established by the Ministry of Labor and Social Welfare and search of problems solving in order to assist unraveling the three nations (Myanmar, Lao and Cambodia) related foreign labor problems. This study is qualitative research by employing profound interview method with same issue applying to every target group, government officials responsible for the immigrant workers of three nations (Myanmar, Lao and Cambodia) and monitoring performance of 10 volunteers of the Ministry of Labor and Social Welfare, employers of enterprises, labor related NGOs’ officers and labor volunteer(s). Findings, it is discovered that the labor volunteers shall have their roles in assisting the three nations (Myanmar, Lao and Cambodia) related problem solving. They have been assigned to implement the foreigner labor system public relation strategies with public relation measures, namely, emphasizing on the public relation in order to attain the targets in connection with encouraging enthusiasm, correct understanding, collaboration and recognition campaign for the employers’ reduction of illegal immigrant labor employment. These are consistent with the employers’ demand and the Ministry of Labor and Social Welfare’s expectation but they are different in terms of views of the of entrepreneurs and NGOs’ officers who want the labor volunteers to recommend solutions that can actually solve the problems, not the roles undertaken by the government sector’s representatives to whom the policies are assigned for forwarding same but they are actually impractical.Recommendations: 1. Policy related recommendation; there should be master plan to clearly and apparently support the administrative policies of the three nations (Myanmar, Lao and Cambodia) immigrant labors. 2. Practice related recommendation; the labor volunteers should be additional trained in terms of languages for communicating immigrant labor groups. Their expressions should attract credibility and reliance. They should willingly to work and devote themselves to the assigned roles and duties so as to penetrate each and every target group and general public with an aim to establish recognition and collaboration as to solutions to the problems. 3. Academic recommendation; additional study and research should be conducted in connection with the labor volunteer’s roles and duties in details to achieve preparation of labor volunteer’s potential development master plan employed as further practical guidelines for involved officials and labor volunteers.