บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : การศึกษาผลกระทบของบุหรี่ที่มีต่อโรคปริทันต์ ในข้าราชการสัญญาบัตร
ของกองบัญชาการกองทัพไทย
โดย : นาวาอากาศเอก สมพงษ์ รพีพัฒนา
สาขาวิชา : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก
(มนูธรรม เนาว์นาน)
กรกฎาคม ๒๕๕๒
การศึกษาผลกระทบของบุหรี่ที่มีต่อโรคปริทันต์ ในข้าราชการสัญญาบัตร ของ
กองบญั ชาการกองทพัไทยคร้ังน้ีมีวตัถุประสงคข์องการศึกษา ๒ ประการคือ ๑) เพื่อศึกษาความ
ชุกและความรุนแรงของโรคปริทันต์อักเสบในข้าราชการสัญญาบัตร ของกองบัญชาการกองทัพ
ไทย แจ้งวัฒนะ ๒) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมสูบบุหรี่ในข้าราชการสัญญาบัตร
ของกองบัญชาการกองทัพไทย กับ ก. สภาวะของโรคปริทันต์อักเสบ โดยใช้ค่าความลึกของ
ร่องลึกปริทันต์ และค่าระดับการยึดเกาะของอวัยวะปริทันต์ ข. สภาวะอนามัยช่องปาก โดยใช้
ดัชนีคราบจุลินทรีย์ ค. อัตราการสูญเสียฟัน โดยใช้จ านวนฟันที่เหลือในช่องปาก ผู้วิจัยได้ท า
การเก็บขอ้มูลจากขา้ราชการสัญญาบตัร กองบญั ชาการกองทพัไทย แจง้วฒั นะ ช้นัยศพนั เอก
และพนั เอกพิเศษ จา นวนท้งัหมด ๑๐๐ ราย
เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามและการตรวจในช่องปาก
ส าหรับการวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการสถิติ เชิงพรรณนา เพื่อหาหมวดหมู่ และทราบลักษณะ
พ้ืนฐานทวั่ ไปของกลุ่มตวัอย่าง โดยใชค้่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษา สรุปได้ว่า ข้าราชการสัญญาบัตรของกองบัญชาการกองทัพไทย ใน
กลุ่มที่สูบบุหรี่ มีความชุกของการเป็นโรคปริทันต์อักเสบมากกว่าผู้ที่เคยสูบบุหรี่ หรือผู้ที่ไม่สูบ
โดยมีผู้ที่เป็นโรคปริทันต์อักเสบระดับกลางมากที่สุด ส่วนในผู้ที่ไม่สูบบุหรี่จะมีความชุกของการเป็นโรคปริทันต์อักเสบระดับต้นรุนแรงน้อยที่สุด ในกลุ่มที่เคยสูบบุหรี่มาก่อนและมีความและ
ความรุนแรงของโรคปริทันต์อักเสบระดับกลาง และรุนแรงอยู่ระหว่างผู้ที่สูบกับผู้ที่ไม่สูบบุหรี่
ในกลุ่มที่สูบน้อย จะมีผู้ที่ไม่เป็นโรคปริทันต์อักเสบมากกว่ากลุ่มที่สูบมาก สภาวะของโรคปริ
ทันต์อักเสบในกลุ่มที่เคยสูบบุหรี่ จะอยู่ระหว่างกลุ่มที่สูบและไม่สูบและไม่สูบบุหรี่ เมื่อจ านวนปี
ที่เลิกสูบบุหรี่มากข้ึน จา นวนของผูท้ ี่มีสภาวะโรคปริทนั ตอ์กัเสบชนิดรุนแรงจะลดลงเรื่อย ๆ
ในการศึกษาคร้ังน้ีเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ขา้ราชการกองบญั ชาการกองทพัไทยและ
ประชาชนทวั่ ไป ผูว้ิจยัมีขอ้เสนอแนะว่าโรคปริทนั ตเ์ป็นโรคที่ป้องกนัและรักษาได้ ถา้มีความรู้
ความเข้าใจเพียงพอ มีการรักษาสุขอนามยัในช่องปากที่ดี ส่วนการสูบบุหรี่จะเป็นตวับ่งช้ีความ
เสี่ยงที่มีผลทา ให้โรคปริทนั ตอ์กัเสบรุนแรงข้ึน ถา้มีการนา ความรู้น้ีไปเผยแพร่แก่ประชาชน
ทวั่ ไป จะเป็นการช่วยกระตุน้ ให้เห็นถึงโทษของการสูบบุหรี่มากข้ึน และเป็นแนวทางหน่ึงที่
สามารถช่วยในการรณรงค์ให้ประชาชนเลิกสูบบุหรี่ABSTRACT
Title : Study of the Effect of the Cigarette Smoking to the Periodontal
Disease of the Personnel in the Royal Thai Armed Forces
Headquarters
By : Group Captain Sompongse Rapeepattana
Major Field : Science and Technology
Research Advisor : Group Captain
(Manoothum Naovanan)
July 2009
The study of the effect of the cigarette smoking to the periodontal disease
of the personnel in the Royal Thai Armed Forces Headquarters has the following
objectives. The first objective is to study the prevalence and the violence of the
periodontal disease of the commissioned officers in the Royal Thai Armed Forces
Headquarters (Jeangwatana office). The second objective is to study the relationship
between the cigarette smoking behaviors of the commissioned officers in the Royal
Thai Armed Forces Headquarters and the following factors: the condition of the
periodontal disease by using the gingival depth and the gingival attachment, the oral
hygiene by using the plaque index, and the losing tooth rate. The researcher collected
the data from 100 commissioned officers with the rank of colonels in the Royal Thai
Armed Forces Headquarters (Jeangwatana office).
The tool for the data collection is the questionnaires and the oral
inspection. The data analysis in this project is a quantitative research to organize the data and to find the fundamental characteristics of the sample by using the
percentage, the average, and the standard deviation.
The results from this study can be summarized as follows: the personnel in
the Royal Thai Armed Forces Headquarters who smoke cigarette have the prevalence
of the periodontal disease more than the personnel who used to smoke and the
non-smoking persons. The smoking personnel have the moderate periodontal disease
the most. The non-smoking personnel have the prevalence of the preliminary
periodontal disease with the least violence. The personnel who used to smoke have
the periodontal disease in the moderate to the violence level between the smoking
and non-smoking personnel. The light smoking personnel tends to have no the
periodontal disease more than the heavy smoking personnel. The condition of the
periodontal disease of the personnel who used to smoke tends to be in between the
smoking and non-smoking personnel. The longer the length of non-smoking, the
prevalence of the violent periodontal disease tends to decrease.
For the benefit of the personnel in the Royal Thai Armed Forces
Headquarters and the general public, the researcher has the following
recommendations. The periodontal disease can be prevented and cured if there is the
comprehension of the disease and good oral hygiene. Smoking can be an indicator for
the risk of having a violent periodontal disease. The results of this study should be
published to the general public to emphasize the penalty from smoking. This study
can be used as a guideline for the non-smoking campaign.