เรื่อง: แนวทางการแก้ไขความขัดแย้งในปัญหาเขตแดนทางบก ระหว่างไทย-กัมพูชา
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, นาย ยงสุข กันตะโอภาส
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2550
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง แนวทางการแก้ไขความขัดแย้งในปัญหาเขตแดนทางบกระหว่างไทย-กัมพูชา
โดย นาย ยงสุข กันตะโอภาส
สาขาวิชา สังคมจิตวิทยา
กรรมการที่ปรึกษาเอกสารวิจัย พันเอก
(อุนฤทธิ์ นวลอนงค์)
กรกฎาคม ๒๕๕๒
ปัญหาเขตแดนของประเทศระหว่างไทยกับกัมพูชาที่มีเขตติดต่อกันท้งัทางบก และ
ทางทะเล จะเป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดความกระทบกระทงั่ ระหว่างประเทศท้งัสอง ซ่ึงจะส่งผลต่อ
ความมั่นคงของชาติด้วย ดังน้ันผูว้ิจัยจึงได้ต้ังวัตถุประสงค์ในการศึกษาความขดัแยง้ระหว่าง
ไทย –กัมพูชา ในปัญหาที่เป็นผลสืบเนื่องมาจากแนวเขตแดนขาดความชัดเจน และศึกษาสภาพ
พ้ืนที่ตามแนวชายแดนที่ยงัเป็นปัญหาและอาจส่งผลกระทบต่อการปักปันเขตแดนของท้ังสอง
ประเทศในอนาคต เพื่อใชเ้ป็นแนวทางในการแกไ้ขปัญหาความขดัแยง้ที่อาจเกิดข้ึน
การศึกษาวิจัยเรื่องแนวทางการแก้ไขความขัดแย้งในปัญหาเขตแดนทางบกระหว่าง
ไทย –กัมพูชา มีลักษณะเป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้ข้อมูลปฐมภูมิ
(Primary Data) จากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับเรื่องที่ท าวิจัย และใช้ข้อมูล
ทุติยภูมิ (Secondary Data) จากหนังสือ เอกสารวิชาการ วรรณกรรม ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
รวมท้งัการประมวลข่าวสาร (Information) บทความและสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ จากน้ันจึงน าขอ้ มูล
ต่าง ๆ ที่ได้รับมาท าการวิเคราะห์ และน าเสนองานวิจัยในรูปความเรียงเชิงพรรณนา (Descriptive
Research)
งานวิจัยเรื่องแนวทางการแก้ไขความขัดแย้งในปัญหาเขตแดนทางบก ระหว่างไทย –
กัมพูชา ปรากฏผลสรุปสอดคลอ้งกบั สมมติฐานที่ต้งัไว้กล่าวคือ ความขดัแยง้ในปัญหาเขตแดน
ทางบก ระหว่างไทย –กัมพูชา มีสาเหตุหลักมาจากความต้องการจะรักษาผลประโยชน์ของชาติ
แต่ละชาติเอาไว้ และความไม่ชัดเจนของเขตแดนทางบกที่ท ากันมาแต่ในอดีต ซึ่ งไม่สามารถ
เปลี่ยนแปลงได้หรือแกไ้ขปัญหาได้โดยง่ายและยงัมีโอกาสที่จะเกิดความรุนแรงข้ึนไดใ้นอนาคต
ดงัน้ันการแก้ไขปัญหาน้ีจึงเป็นเรื่องละเอียดอ่อน ข้ึนอยู่กบัการสร้างความสัมพนัธ์ที่ดีบนพ้ืนฐาน
ของผลประโยชน์ร่วมกัน และการยอมรับหลักสากลในการปักปันเขตแดนร่วมกัน
ผลสรุปจากการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่เป็ นสาเหตุส าคัญก่อให้เกิดความขัดแย้งในปัญหา
เขตแดนทางบกระหว่าง ไทย –กัมพูชา มีหลายประการ ได้แก่ สนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมและไม่
ถูกต้องตามหลักกฎหมายสากลระหว่างประเทศ, ข้อมูลในเอกสารหลักฐานไม่ตรงกับข้อมูลใน
ภูมิประเทศจริง, หลักเขตช ารุดสูญหาย หรือมีระยะห่างเกินไป, การเปลี่ยนแปลงสภาพทาง
ภูมิศาสตร์ท้งัจากธรรมชาติและจากการกระทา ของมนุษย์ส่วนสภาพพ้ืนที่เขตแดนทางบก ซ่ึงอาจ
สร้างความขัดแย้งรุนแรงระหว่างไทย –กัมพูชา ในอนาคต พบว่ามีหลายพ้ืนที่ เกิดข้ึนบริเวณ
ชายแดนจังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ สุรินทร์ สระแก้ว จันทบุรีและตราด นอกจากน้ีจาก
การศึกษาข้อมูลสภาพปัจจุบันของหลักเขตแดนไทย –กัมพูชา ต้งัแต่หลกัเขตแดนที่ ๑ อ.ภูสิงห์
จ.ศรีสะเกษ ไปจนถึงหลกัเขตแดนที่๗๓ อ.คลองใหญ่ จ.ตราด พบว่ามีหลกัเขตแดนรวมท้งัสิ้น
๗๔ หลัก แยกเป็ นหลักเขตแดนที่มีสภาพสมบูรณ์และยงัต้งัอยู่ในตา แหน่งเดิม ๔๑ หลกั, หลกั
เขตแดนที่มีสภาพไม่สมบูรณ์แต่ยงัต้งัอยู่ในตา แหน่งเดิม ๑๑ หลกั, หลกัเขตแดนที่ถูกเคลื่อนยา้ย
ไปจากตา แหน่งที่ต้งัเดิม ๙ หลกั และหลกัเขตแดนสูญหายอีก ๑๓ หลกั
ส าหรับแนวทางการแก้ไขปัญหาเขตแดนทางบกระหว่างไทย –กัมพูชา หากเป็ น
ปัญหาจากสภาพหลักเขตแดนชา รุด สูญหาย คลาดเคลื่อน ควรแก้ไขด้วยการพิสูจน์ทราบที่ต้ัง
หลักเขตแดนที่ถูกต้องตามภูมิประเทศจริง และสร้างหลักเขตข้ึนใหม่ตรงตามที่ท้ังสองฝ่าย
ยอมรับได้ส่วนปัญหาเกี่ยวกับแนวเส้นเขตแดนที่เกิดการรุกล้ าเขตแดน ควรแก้ไขตามบันทึก
ความเข้าใจระหว่างไทยกับกัมพูชา ว่าด้วยการส ารวจและจัดท าหลักเขตแดนทางบกที่ลงนามเมื่อ
๑๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๔๓ ขณะที่การส ารวจปักปันเขตแดนไทย –กมั พูชา ควรแบ่งพ้ืนที่ส ารวจ
ออกเป็น ๗ ตอนนับจากใต้ข้ึนเหนือ เพื่อให้ง่ายต่อการด าเนินการและหากมีปัญหาที่จะเป็ น
อุปสรรคต่อการส ารวจปักปันเขตแดนเกิดข้ึน ควรให้คณะอนุกรรมการเทคนิคร่วมไทย –กัมพูชา
ท้ังสองฝ่ายเสนอรายงานตามล าดับช้ันจนถึงคณะกรรมาธิการเขตแดนร่วมฯ เพื่อพิจารณา
ด าเนินการแก้ไขต่อไป
ABSTRACT
Title : Guidelines for the Resolution of the Border Area Conflict Between
Thailand and Cambodia
By : Mr. Yongsuk kanta-ophas
Major Field : Social-Psychology
Research Advisor : Colonel
(Unarit Nualanong)
July 2009
The border conflicts between Thailand and Cambodia, where the border
is connected by both land and sea, will eventually cause the conflict between the two
countries which will affect their national securities. The objectives of this research
are to study the conflict between Thailand and Cambodia which results from their
border overlap conflicts and to study the border area topography problems which
may affect the future border demarcation of both countries which can be used as
guidelines for the future resolution.
This research on the guidelines for the resolution of the border area
conflicts between Thailand and Cambodia is a qualitative research in which the
primary data is obtained from interviewing the involved personnel. The secondary
data is obtained from books, documents, literate, involved research, information and
articles. The data was then analyzed and present in a form of descriptive research.
The research on the guidelines for the resolution of the border area
conflicts between Thailand and Cambodia indicates the results in accordance with the
hypothesis which states that the border land conflict between Thailand and Cambodia
caused by the determination to protect their national interests. The ambiguous of the
border area from the past which can not be changed or resolved easily may have a
chance to cause the violence in the future. Therefore, the resolution is a delicate
matter which is depended on building up the relationship based on the joint interests
because of the acceptance of the international standard on the border demarcation.
The results from this research indicate that there are several importance
factors which cause the border land conflicts between Thailand and Cambodia such
as the unfair treaty which is not in accordance with the international laws, the data in
the evidence documents disagree with the actual topography, lost boundary markers
or too far apart boundary markers, and the change in the geography of the border area
caused by nature and human behaviors. The topography of the borderland area
which may cause the border conflicts between Thailand and Cambodia such as the
areas in Ubolrachatani, Sisaket, Surin, Srakaew, Chantaburi, and Trad. In addition,
the current study of the border markers between Thailand and Cambodia indicates
that the area between the border marker number 1 in the Pusing district, Sisaket
province and the border marker number 73 in the Klongyai district, Trad province
has 74 border markers. 41 border markers are in a perfect condition and located in
their original positions. There are 11 imperfect border markers but located in their
original positions. There are 9 border markers which are dislocated from their
original positions. There are 13 lost border markers.
The guidelines for the resolution of the border area conflict between
Thailand and Cambodia are as follows. The damage or lost or dislocated border
markers should be resolved by justifying the correct border markers according to the
actual topography. The installation of the new border markers must be acceptable by
both countries. The overlap border area conflict should be resolved according to the
Memorandum of Understandings between Thailand and Cambodia about the survey
and the installation of the border markers signed on June 14 B.E. 2543. The border
demarcation of Thailand and Cambodia should be divided into 7 areas from the south
to the north. If there are any problems or obstacles during the border demarcation, the
joint technical subcommittee should submit the resolution to the Joint Border
Committee for considerations.
abstract:
ไม่มี