Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับยาเสพติดาของนักเรียนจ่าอากาศ โรงเรียนจ่าอากาศกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. มนัส ฤทธิรงค์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2550
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : ความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับยาเสพติดของนักเรียนจ่าอากาศ โรงเรียนจ่าอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ โดย : นาวาอากาศเอก มนัส ฤทธิรงค์ สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก (ชนินทร เฉลิมทรัพย์) กรกฎาคม ๒๕๕๒ ปัญหายาเสพติด เป็นปัญหาสังคมที่มีผลกระทบอย่างรุนแรงต่อเศรษฐกิจ สังคม และ ความมนั่ คงของประเทศ ปัจจุบนัยาเสพติด ได้แพร่ระบาดเขา้สู่เยาวชนและวยัรุ่น ซ่ึงตอ้งเติบโต เป็นก าลังส าคัญของประเทศชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในกลุ่มนักเรียนจ่าอากาศ โรงเรียน จ่าอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ เป็นกลุ่มบุคคลที่อยู่ในช่วงวัยดังกล่าว ซึ่งได้รับคัดเลือกมา จากทวั่ ทุกภูมิภาค ดังน้ัน พ้ืนฐานในด้านความรู้ และทัศนคติต่อยาเสพติด อันจะน าไปสู่การ ไตร่ตรองในด้านการปฏิบตัิตนต่อยาเสพติดย่อมแตกต่างกัน การวิจยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความรู้ ทัศนคติและความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ และทัศนคติเกี่ยวกับยาเสพติดของ นักเรียนจ่าอากาศ โรงเรียนจ่าอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ เพื่อจะได้น าผลการวิจัยไป ใช้เป็นแนวทางในการด าเนินการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียนจ่าอากาศให้ลด นอ้ยลงหรือหมดสิ้นไป วิจัยน้ีเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างเป็ นนักเรียน จ่าอากาศ โรงเรียนจ่าอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ จ านวน ๓๐๐ คน เก็บรวบรวม ข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามชนิดตอบด้วยตนเอง โดยเป็ นข้อค าถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด และแบบวัดทัศนคติเกี่ยวกับยาเสพ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการ ใช้โปรแกรมส าเร็จรูป ผลการวิจัย พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มีอายุ ๑๘ – ๒๐ ปี มีรายได้เฉลี่ยต่อ ครอบครัวส่วนใหญ่มีรายได้ ๒๐,๐๐๐ – ๓๐,๐๐๐ บาท และสถานภาพสมรสของบิดา มารดาอยู่ ด้วยกัน ด้านข้อมูลเกี่ยวกับยาเสพติด ส่วนใหญ่ ได้รับข้อมูลจากโทรทัศน์มากที่สุด โดยมีเพื่อน เกี่ยวข้องกับยาเสพติด และอยู่ในฐานะผู้เสพมากที่สุด และมีประสบการณ์ในการลองเสพยาเสพติด โดยส่วนใหญ่ต้องการทดลองและระบายความกลุ้ม ส าหรับประสบการณ์การลองเสพยาเสพติด พบว่า สูบบุหรี่มากที่สุด ด้านความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด ส่วนใหญ่ มีความรู้ระดับปานกลาง รองลงมามี ความรู้อยู่ในระดับมาก ด้านทัศนคติ เกี่ยวกับยาเสพติด พบว่า ส่วนใหญ่ มีทัศนคติที่ดี ถูกต้องเกี่ยวกับยาเสพติดมากที่สุด รองลงมามีทัศนคติ ระดับปานกลาง ความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้ และทัศนคติเกี่ยวกับยาเสพติด พบว่า มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ซึ่ ง สอดคลอ้งกับสมมติฐานที่ต้งัไว้คือ ผู้มีความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดดีย่อมมีทัศนคติที่ดีและถูกต้อง เกี่ยวกับยาเสพติดด้วย ขอ้เสนอแนะควรเพิ่มการประชาสัมพนัธ์ให้ความรู้เกี่ยวกบั ยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้นักเรียนจ่าอากาศ เห็นถึงพิษภยัของยาเสพติดเพิ่มมากข้ึน นอกจากน้นั รัฐบาลควรใช้สื่อ ทางโทรทัศน์ ในการรณรงค์ป้องกันยาเสพติด เพราะผลการวิจัย พบว่า สื่อน้ีสามารถเข้าถึง ประชาชนไดม้ ากที่สุด ในการทา วิจัยคร้ังต่อไป ควรศึกษาความสัมพนัธ์ระหว่างความรู้ทศันคติ และพฤติกรรมการติดยาเสพติด ในกลุ่มของนักเรียนจ่าอากาศต่อไป ABSTRACT Title : Knowledge and Attitudes about Narcotics of air technical student air technical training School directorate of education and training By : Group Captain Manus Rittirong Major Field : Sociopsychology Research Advisor : Group Captain (Chanintorn Chalermsup) July 2009 Drug addiction is a social problem severely damaging the country’s economy, society, and security. Currently narcotics are spreading among youths and teenagers, who are an important force of the nation. Stationed in air technical student air technical training school directorate of education and training particularly, whom are selected from all regions of the country, are also in the said age group, Their knowledge and attitudes towards narcotics, which lead to the consideration of how to react against narcotics were different. This research thus had the objectives of studying the knowledge, attitudes, and relationships between knowledge and attitudes towards narcotics of air technical student and setting up guidelines based on the said results in order to prevent and solve, either lessen or wholly eradicate, the narcotic problems in air technical training school. This study is a quantitative research and the subjects were 300 air technical student. A questionnaire was used for the subjects to answer by themselves. The questions were about the subjects’ personal information, a test about their knowledge about narcotics, and a test that measured their attitudes towards narcotics. The data were analyzed by software The research result found that most of the subjects were 18 - 20 years of age. They had the average household income of more than Bt. 20,000 – 30,000 and their parents were living together. Regarding the knowledge about narcotics, most received the knowledge about narcotics through television, and most had friends involving with narcotics, most of whom were of drug addicts. Most of the subjects had the experience of trying narcotics, and most (25.7%) of them wanted to try. As for the experience of trying drugs, consuming cigarot was the most The subjects with moderate knowledge about narcotics were the largest group, followed the group with high knowledge. About the attitudes towards narcotics, the subjects with correct Attitude on narcotics were the largest group followed by the group with moderate The knowledge and the attitudes about narcotics showed a statistically significant. This harmonized with the establishedhypothesis. The research recommended that more public relations and education in regard to the knowledge about narcotics should be boosted continually so air technical student can recognize the hazards of the drugs increasingly. Besides, the government should use television as a medium for the campaigns against narcotics because the research result found that this kind of media could reach the general public the most. Further research should be conducted to study the relationships between the knowledge, attitudes, and behavior of drug addiction among air technical student.

abstract:

ไม่มี