เรื่อง: แนวทางการสร้างความรู้ความเข้าใจให้ข้าราชการในการปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบจำแนกตำแหน่งและระบบค่าตอบแทนใหม่ของสำนักชลประทานที่ 13 กรมชลประทาน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, นาย พีรยุทธ์ เหมาะพิชัย
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2550
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : แนวทางการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้ข้าราชการในการปรับเปลี่ยนเข้าสู่
ระบบจ าแนกต าแหน่งและระบบค่าตอบแทนใหม่ของส านักชลประทานที่ ๑๓
กรมชลประทาน
โดย : นาย พีรยุทธ์ เหมาะพิชัย
สาขาวิชา : สังคมศาสตร์
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก
(นรชัย วงษ์ดนตรี)
กรกฎาคม ๒๕๕๒
การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) เพื่อศึกษาระดับความรู้ ความเข้าใจของข้าราชการ
ในส านักชลประทานที่ ๑๓ กรมชลประทานในการปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบจ าแนกต าแหน่งและ
ระบบค่าตอบแทนใหม่ ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ๒) เพื่อศึกษา
ปัจจัยที่มีผลต่อของความรู้ ความเข้าใจของข้าราชการ ในส านักชลประทานที่ ๑๓ กรมชลประทาน
ในการปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบจ าแนกต าแหน่งและระบบค่าตอบแทนใหม่ ตามพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และ ๓)เพื่อหาแนวทางการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้
ข้าราชการ ในส านักชลประทานที่ ๑๓ กรมชลประทานในการปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบจ าแนก
ต าแหน่งและระบบค่าตอบแทนใหม่ ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ประชากรที่ศึกษาคือ ข้าราชการพลเรื อนสังกัดส านักชลประทานที่ ๑๓ กรม
ชลประทาน ท้งัหมดจ านวน ๒๒๒ คน และใช้แบบสอบถามเป็ นเครื่องมือในการเก็บรวบรวม
ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยมัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน t-test และF-test สรุปผลไดด้งัน้ีประชากรส่วนใหญ่เป็ นเพศชาย มีอายุ๔๕ ปีข้ึนไป จบการศึกษาสูงสุด ไม่เกินระดับ
ปริญญาตรี มีระดับต าแหน่ง (ซี) อยู่ในระดับต าแหน่ง ๖ มีระยะเวลาในการท างาน ในกรม
ชลประทาน ๑๕ – ๒๐ ปี
ข้าราชการของส านักชลประทานที่ ๑๓ กรมชลประทานมีความรู้ความเข้าใจในการ
ปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบจ าแนกต าแหน่งและระบบค่าตอบแทนใหม่ในภาพรวมและในแต่ละด้านอยู่
ในระดับไม่แน่ใจ โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการก าหนดต าแหน่ง รองลงมาได้แก่ ด้าน
ค่าตอบแทน ด้านคุณธรรม และด้านความพร้อมในการปรับเปลี่ยน ตามล าดับ
การรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบจ าแนกต าแหน่งและระบบ
ค่าตอบแทนใหม่ ส่วนใหญ่รับรู้จากแหล่งที่ส าคัญได้แก่ ผู้ร่วมงาน ผู้บังคับบัญชา อินเตอร์เน็ต การ
อบรมช้ีแจงและเอกสารโดยส านักงาน ก.พ. การประชาสัมพันธ์และการอบรมช้ีแจงภายใน
หน่วยงานตามล าดับ
ปัจจัยที่มีผลต่อความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบจ าแนกต าแหน่งและ
ระบบค่าตอบแทนใหม่ ได้แก่ อายุราชการ และ การรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนเข้าสู่
ระบบจ าแนกต าแหน่งและระบบค่าตอบแทนใหม่ ส่วนปัจจัยที่ไม่มีผลต่อความรู้ความเข้าใจในการ
ปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบจ าแนกต าแหน่งและระบบค่าตอบแทนใหม่ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา
และ ระดับต าแหน่ง
ข้อเสนอแนะจากการศึกษา
๑. หน่วยงานควรมีการก าหนดต าแหน่งให้ชัดเจน เหมาะสมและเป็ นธรรมแก่ทุกฝ่ าย
ทุกต าแหน่งก่อนเข้าสู่การปรับเปลี่ยน
๒. หน่วยงานควรมีการให้ความรู้ ความเข้าใจแก่เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการปรับปรุงบัญชี
เงินเดือน เงินประจ าต าแหน่งวิชาชีพและสิทธิประโยชน์ที่จะได้รับจากการปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบ
จ าแนกต าแหน่งและระบบค่าตอบแทนใหม่
๓. หน่วยงานควรมีมาตรการที่จะสร้างความเชื่อมนั่ ให้แก่ขา้ราชการว่าการปรับเปลี่ยน
จะไม่ท าให้เกิดการเล่นพรรคเล่นพวกการบริหารจัดการจะเกิดความเป็ นธรรมและไม่สร้างความ
แตกแยกในหมู่ข้าราชการ
๔. ควรมีการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องและจัดอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ทุกระดับ
เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องเส้นทางการเข้าสู่ระบบจ าแนกต าแหน่งและความก้าวหน้าในแต่
ละต าแหน่ง
๕. หน่วยงานควรมีช่องทางในการติดต่อ สอบถามข้อมูลข่าวสาร เพื่อให้ข้าราชการ
สามารถสอบถามรายละเอียดต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้องและป้องกันการสับสน
abstract:
ABSTRACT
Title : Guidelines for Knowledge and Understanding of the Position
Classification System and the New Payment System for the
Government Officials in the Regional Irrigation Office 13,
the Royal Irrigation Department
By : Mr. Phirayut Mohphichai
Major Field : SocialScience
Research Advisor : Colonel
(Norachai Wongdontri)
July 2009
This study has 3 objectives: 1) to study the knowledge and understanding level
on the reorientation to position classification system and new payment system according
to the Civil Service Act, B.E. 2551 (2008), 2) to study the affecting factors of the
knowledge and understanding on the reorientation to position classification system and
new payment system according to the Civil Service Act, B.E. 2551 (2008), and 3) to find
the guideline for providing the knowledge and understanding on the reorientation to
position classification system and new payment system according to the Civil Service
Act, B.E. 2551 (2008)
The subjects for this study are 222 government officials in the Regional Irrigation
Office 13. The data were collected by using questionnaires, and statistically analyzed by frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, t-test, and F-test. Results are
summarized as follows:
Most of the participants are male aged 45 and over, with highest education at
bachelor degree level. They are at position level (C) 6, with 15 - 20 years of work for the
Royal Irrigation Department.
The government officials in the Regional Irrigation Office 13 have the
knowledge and understanding level on the reorientation to position classification system
and new payment system for the overall and each area in the uncertain level. The aspect
with highest meanis prescription of positions, followed by payment, merit, and readiness
for change, respectively.
Major sources of perceived information about the orientation to position
classification system and new payment system are their colleagues and superiors, the
internet, orientation training/document by the Civil Service Commission Office, public
relations and trainings within their organizations, respectively.
The factors that affect their opinions towards reorientation to position
classification and new payment system include years of work, knowledge and
understanding about the change, awareness, and expectation of benefits. Whereas the
factors not affecting their opinions are gender, age, education level, and position level.
Recommendations
1 . The organization should provide a clear, appropriate, and just prescription of
positions for every section and position prior to reorientation.
2. The organization should provide knowledge and understanding to concerned
officers about the revision of schedule of salary scale, position allowance, and fringe
benefit received from this reorientation.
3 . The organization should have measures to build trust among government
officials that such change would not lead to favoritism and that the administration and management would base on justice and bring about no disintegration among government
officials.
4 . There should be extended public relations and trainings for officers at every
level so they know and understand the path towards position classification system and
the promotion of each position.
5. The organization should provide communication channels for government
officials to seek detail information for their accurate understanding and avoiding
confusion.