Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพการศึกษาภายนอกโรงเรียนเหล่าทัพ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. พงศ์สันต์ ทองโต
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2550
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : แนวทางการพฒั นาตวับ่งช้ีการประกนัคุณภาพการศึกษาภายนอกของ โรงเรียนเหล่าทัพ โดย : นาวาอากาศเอกเอก พงศ์สันต์ ทองโต สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก (อภิชาต แก้วประสพ ) กรกฎาคม ๒๕๕๒ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และ ๒๕๔๕ ได้ก าหนดให้ สถานศึกษามีการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ดังน้ันโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า โรงเรี ยนนายเรื อ และโรงเรียนนายเรืออากาศ จึงได้ ด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อตอบสนองนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาของรัฐบาล แต่จากการรายงานผลการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา ของส านักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ปรากฎว่าบางมาตรฐานของการประเมินการประกันคุณภาพ ภายนอกโดย สมศ.อยู่ในเกณฑ์พอใช้และไม่มีมาตรฐานที่แสดงความเป็นสถาบันการศึกษาเฉพาะทาง ทางการทหาร แต่โรงเรียนเหล่าทพั จา เป็นตอ้งปฏิบตัิเนื่องจากเป็นมาตรฐานและตวับ่งช้ีที่ใชป้ ระเมิน คุณภาพในสถาบันอุดมศึกษาเหมือนกันหมด ท าให้ผลการประเมินของโรงเรียนเหล่าทัพในบาง มาตรฐานของ สมศ. ยังไม่เป็นที่น่าพอใจ วัตถุประสงค์ของเอกสารวิจัยฉบบั น้ี จดั ทา ข้ึนเพื่อศึกษาระบบประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษาของโรงเรียนเหล่าทัพ และเพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างโรงเรียนเหล่าทัพกับ สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่สังกัดทบวงมหาวิทยาลัยในเรื่องของระบบประกันคุณภาพ การศึกษา วัตถุประสงค์อีกประการหนึ่งคือ เพื่อพฒั นาตวับ่งช้ีการประกันคุณภาพการศึกษาภายนอกของ โรงเรียนเหล่าทัพให้แสดงความเป็นอัตลักษณ์สถาบันการศึกษาเฉพาะทางทางการทหารการวิจัยคร้ังน้ีเป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิเคราะห์เชิงพรรณนาโดยใช้ข้อมูล ปฐมภูมิ จากการสัมภาษณ์บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถและมีส่วนเกี่ยวข้องกับการด าเนินการด้าน การประกันคุณภาพการศึกษาและใช้ขอ้ มูลทุติยภูมิจากเอกสาร รายงานของท้งัภาครัฐ และเอกชน ตลอดจนข้อมูลจากระบบเครือข่ายอิเล็กทรอกนิกส์ แนวคิด ทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องด้านการ ประกันคุณภาพ ผลการวิจัย งานวิจัยเรื่องน้ีปรากฎผลสรุปสอดคลอ้งกับสมมติฐานที่ต้งัไวค้ือ มาตรฐาน และตวับ่งช้ีการประกนัคุณภาพการศึกษาภายนอกของโรงเรียนเหล่าทพัควรแสดงความเป็นอตัลกัษณ์ ของสถาบันการศึกษาทางทหารระดับอุดมศึกษา ผูว้ิจัยได้ท าการวิเคราะห์เพื่อช้ีให้เห็นว่ามาตรฐาน และตัวบ่งช้ีการประกันคุณภาพการศึกษาภายนอกของโรงเรียนเหล่าทัพโดยส านักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาน้ัน ยังไม่เป็นการแสดงความเป็นอัตลักษณ์ของ สถาบนัการศึกษาทางทหารระดบัอุดมศึกษา เนื่องจากเป็นมาตรฐานและตวับ่งช้ีที่ใช้ประเมินคุณภาพ ในสถาบนัอุดมศึกษาเหมือนกันหมดท้งัประเทศ ทา ให้ตวับ่งช้ีบางตวัยงัไม่เหมาะสมที่จะน ามาใช้กับ โรงเรียนเหล่าทัพ ผูว้ิจัยจึงได้เสนอแนวทางการพฒั นามาตรฐานและตวับ่งช้ีการประกนัคุณภาพการศึกษา ภายนอกของโรงเรียนเหล่าทัพ เพื่อแสดงความเป็นอัตลักษณ์ของโรงเรียนเหล่าทัพ ซึ่งได้แก่มาตรฐาน ด้านการพัฒนาภาวะผู้น าทางทหารและ การปลูกฝังความเป็ นทหารอาชีพ และมาตรฐานด้านการท านุ บ ารุงศิลปวัฒนธรรมไทย และขนบธรรมเนียมประเพณีทางทหาร ซึ่งเป็ นส่วนที่ส าคัญที่สุดของการ เป็นสถาบันการศึกษาทางทหารระดับอุดมศึกษา

abstract:

ABSTRACT Title : Guidelines for the Development of the Indicators for the External Quality Assurance of the Armed Forces Academies By : Group Captain Pongsan Tongtoe Major Field : Social-Psychology Research Advisor : Group Captain (Apichart Kaewprasop) July 2009 The National Education Acts B.E. 2542 and 2545 mandate a quality assurance for educational institutions to improve the qualities and standards of education at all levels. So Chulachomklao Royal Military Academy, Royal Navy Academy, and Royal Thai Air Force Academy have imposed a quality assurance program to meet the educational standards and quality assurance of the government. The educational quality assessment reports by the Office for National Education Standards and Quality Assessment (ONESQA) indicated that some standards of the external quality assurance of the Royal Armed Forces Academies are in the moderate levels and no standard for the military institutions. However, the Royal Armed Forces Academies must follow the standards by the Office for National Education Standards and Quality Assessment because these standards have been used to all of the higher education institutions throughout the country. The Royal Armed Forces were not satisfied with the results of the quality assessment by the higher education institutions.The first objective of this research is tostudy the quality assurance systems of the armed forces academies. The second objective is to study the differences in the quality assurance systems between the armed forces academies and the higher education institutions under the Commission on Higher Education. The final objective is to develop the guidelines of the indicators for the external quality assurance of the armed forces academies. This study is a qualitative research with the descriptive methodology in which the primary data is obtained from interviewing the quality assurance experts. The secondary data is obtained from documents and reports from both the government and the private institutions. The data is also obtained from the internet including idea, theory, and research in the area of the quality assurance. The result from this study is agreed with the hypotheses which state that the standards and the indicators for the external quality assurance of the armed forces academies should indicate the identity of military academies. The results from the research indicate that the standards and the indicators for the external quality assurance of the armed forces academies by the Office for National Education Standards and Quality Assessment have not represent the identity of military academies. This is due to the fact that the standards and the indicators for the external quality assurance have been used to all of the institutions throughout the country. To represent the identity of military academies, the researcher proposes the guidelines for the development of the standards and the indicators for the external quality assurance of the armed forces academies. The standards include the development of military leadership, the implementation of military professions and the standard for maintaining of Thai’s art and culture and military’s traditions. These standards are the most important parts of being institutions of the armed forces academies.