Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ความสัมพันธ์ระหว่างสุขภาพองค์การกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของนายทหารสัญญาบัตร สังกัดวิทยาลัยเสนาธิการทหาร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. นุชิต ศรีบุญส่ง
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2550
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : ความสัมพันธ์ระหว่างสุขภาพองค์การกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของ นายทหารสัญญาบัตร สังกัดวิทยาลัยเสนาธิการทหาร สถาบันวิชาการป้องกัน ประเทศ โดย : พันเอก นุชิต ศรีบุญส่ง สาขาวิชา : การทหาร อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก (ขจรฤทธิ์ นิลก าแหง) กรกฎาคม ๒๕๕๒ การวิจยัเรื่องน้ีมีวตัถุประสงค์ เพื่อ (๑) ศึกษาระดบัการรับรู้สุขภาพองคก์ ารของ นายทหารสัญญาบัตร สังกัดวิทยาลัยเสนาธิการทหาร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ (๒) ศึกษา ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของนายทหารสัญญาบัตร สังกัดวิทยาลัยเสนาธิการทหาร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ และ (๓) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สุขภาพองค์การกับ ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของนายทหารสัญญาบัตร สังกัดวิทยาลัยเสนาธิการทหาร สถาบัน วิชาการป้องกันประเทศ ซึ่งกลุ่มประชากร ได้แก่ นายทหารสัญญาบัตร สังกัดวิทยาลัยเสนาธิ การทหาร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ระดับ ร้อยตรี เรือตรี เรืออากาศตรี ถึง ระดับ พันเอก (พิเศษ) นาวาเอก (พิเศษ) นาวาอากาศเอก (พิเศษ) จ านวน ๔๔ นาย เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม โดยมีจ านวนผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นจ านวน ร้อยละ ๑๐๐.๐ ผลการวิจัย พบว่า (๑) นายทหารสัญญาบัตร สังกัดวิทยาลัยเสนาธิการทหาร สถาบัน วิชาการป้องกันประเทศ มีระดับการรับรู้สุขภาพองค์การโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็น รายมิติพบว่า มิติที่มีระดับการรับรู้สุขภาพองค์การมากที่สุด คือ ด้านขวัญก าลังใจในการปฏิบัติงาน ส่วนมิติที่มีระดับการรับรู้สุขภาพองค์การน้อยที่สุด คือ ด้านบูรณภาพของสถาบัน (๒) นายทหาร สัญญาบัตร สังกัดวิทยาลัยเสนาธิการทหาร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ มีระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายปัจจัย พบว่า นายทหารสัญญาบัตร สังกัดวิทยาลัยเสนาธิการทหาร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ด้านปัจจัยจูงใจมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ด้านปัจจัยเกื้อหนุน และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีระดับความพึงพอใจมากที่สุด คือ ดา้นความมนั่ คงและความกา้วหนา้ในการทา งาน ส่วน ด้านที่มีความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ ด้านรายได้และผลประโยชน์เกื้อกูล (๓) การรับรู้สุขภาพ องค์การโดยรวมมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับสูงกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานโดยรวม และ เมื่อพิจารณาเป็นรายปัจจัย พบว่า การรับรู้สุขภาพองค์การโดยรวมมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความ พึงพอใจในการปฏิบัติงานด้านปัจจัยเกื้อหนุนในระดับที่สูงกว่าด้านปัจจัยจูงใจ ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ใน ระดับสูง และระดับใช้ได้ ตามล าดับ และเมื่อพิจารณาเป็นรายมิติ พบว่า การใช้นวัตกรรมทาง การศึกษามีความสัมพันธ์สูงที่สุดกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานโดยรวม ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ ในระดับสูง ส่วนมิติที่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานโดยรวมต ่าที่สุด คือ การ ติดต่อสื่อสาร ซึ่งเป็นค่าความสัมพันธ์ในระดับต ่า

abstract:

ABTRACT Title : The Relationship between The Organizational Health and Job Satisfaction of The Officers in The Joint Staff College By : Colonel Nuchit Sribunsong Major Field : Military Research Advisor : Colonel (Kajohnrit Nilkamhaeng) July 2009 This research was aimed at (1) search for the perception of the organizational health of the officers in the Joint Staff College; (2) study the job satisfaction of the officers in the Joint Staff College; and (3) investigate relationship between the perception of the organizational health and job satisfaction of the officers in the Joint Staff College. Data collection was done by distributing self – administered questionnaires to all 44 officers, which ranks of Second Lieutenant to Special Colonel and all questionnaires were returned. The research results were as follows : (1) The overall picture of organizational health perceived by the officers was at the high level. However, when each dimension was considered, the dimension of morale in job performance was at the highest level, while the dimension of institution integrity was the lowest level. (2) The overall picture of officers job satisfaction was the high level. However, when each factor was considered, the motivator factors were higher than hygiene factors, and when each dimension was considered. The dimension of security and work progress was the highest level, the dimension of income and benefit was the lowest level. (3) The relationship between the perception of the organizational health and job satisfaction of the officers in the Joint Staff College was found to be high correlated level. However, when each factor was considered, the hygiene factors were higher correlated level than motivator factors, when each dimension was considered. The dimension of education innovation was at the highest correlated level, while the dimension of communication was at the lowest correlated level.