Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การจัดการฝึกป้องกันภัยทางอากาศ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. นวกร สงวนศักดิ์โยธิน
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2550
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : การจัดการฝึ กป้องกันภัยทางอากาศ โดย : พันเอก นวกร สงวนศักดิ์โยธิน สาขาวิชา : การทหาร อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก ( ประสงค์ จั่นวิลัย ) สิงหาคม ๒๕๕๒ ภัยคุกคามทางอากาศถือเป็ นปัจจัยหลักประการหนึ่งที่ท าให้เกิดผลในการยุทธ์ โดยประเทศต่างๆไดเ้พิ่มศกัยภาพของกา ลงัทางอากาศอย่างมากกองทพัไทยไดเ้ห็นถึงภยัทางอากาศ จึงไดเ้ตรียมการป้องกนั โดยจดั ทา แผนการป้องกันภยัทางอากาศข้ึน ปัจจุบนัคือแผนป้องกันภัยทาง อากาศ( สป.๔๗ ) โดยกองบัญชาการกองทัพไทย เป็ นผู้รับผิดชอบ แผนดังกล่าวยังไม่มีการฝึ ก ทดสอบแผนฯ ร่วมกันของเหล่าทัพ ซึ่งการรบในปัจจุบันก าลังทางอากาศจะถูกใช้อย่างกว้างขวาง ในการโจมตีต่อเป้าหมายท้งัทางยุทธศาสตร์และยุทธวิธี การฝึ กร่วมระหว่างเหล่าทัพปัจจุบันได้แก่การฝึ กร่วมกองทัพไทย โดยกองบัญชาการ กองทัพไทย เป็ นผู้รับผิดชอบ เพียงแต่งานการฝึ กดังกล่าว เป็ นการฝึ กทดสอบแผนป้องกันประเทศ ไม่ได้มีการฝึ กทดสอบ แผนการป้องกันภัยทางอากาศ เพียงแต่งานการป้องกันภัยทางอากาศในการ ฝึ กมีเพียงการจัดหน่วยป้องกันภัยทางอากาศให้กับกองกา ลงัเฉพาะกิจร่วม ไม่ได้ฝึกทดสอบท้ัง ระบบฯ หากต้องปฏิบัติตามแผนป้องกันภัยทางอากาศแล้วเหล่าทัพต่างๆอาจมีปัญหาในการ ประสานการปฏิบัติได้ ความส าคญั ของการฝึกป้องกนั ภยัทางอากาศน้นั จึงมิใช่แต่เพื่อการพฒั นาความพร้อมรบ ของกองทัพไทยเพื่อการป้องกันประเทศ หากกองทัพไทยมีความจ าเป็นอย่างยิ่ง ที่ต้องพัฒนา กองทัพให้มีความทนั สมยั สอดคลอ้งกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป และภารกิจที่จะเกิดข้ึน ในอนาคต เพื่อให้เกิดความพร้อมดังกล่าว จึงจ าเป็ นต้องมีการจัดการฝึ กป้องกันภัยทางอากาศในการฝึ กร่วมกองทัพไทย เพื่อที่จะ สามารถตอบสนองต่อภัยคุกคามในทุกมิติในอนาคตได้อย่าง สมบูรณ์ การวิจยัน้ีมีวตัถปุ ระสงค ์ เพื่อศึกษาการปฎิบัติการในการป้องกันภัยทางอากาศ ของ กองทัพไทย และ เพื่อหาแนวทางการจัดการฝึ กป้องกันภัยทางอากาศที่เหมาะสม กับกองทัพไทย โดยต้งัสมมติฐาน ไว้ ๒ ประการ คือ แนวทางการจัดการฝึ กป้องกันภัยทางอากาศที่เหมาะสม ควร จัดอย่างไรและการฝึ กป้องกันภัยทางอากาศจะสอดคล้องกับการฝึ กร่วมกองทัพไทยหรือไม่ การวิจัยใช้วิธีการวิจัยแบบเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยศึกษาค้นคว้าจาก ข้อมูลทุติยภูมิ(Secondary Sources) ได้แก่แผนป้องกันภัยทางอากาศ ( สป. ๔๗ ) แนวทางการปฏิบัติ ในการป้องกันภัยทางอากาศ แนวทางการจัดการฝึ กร่วมกองทัพไทย ส าหรับข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Sources) ได้จากการสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้องกับงานการป้องกันภัยทางอากาศและการ ฝึ กร่วมกองทัพไทย โดยใช้ระเบียบการน าเสนอข้อมูลในเชิงพรรณนาและวิเคราะห์(Descriptive and Analytical Approaches) เป็ นหลักในการวิเคราะห์และวิจัย เพื่อให้ทราบแนวทางการจัดการฝึ ก ป้องกันภัยทางอากาศที่เหมาะสมควรจัดอย่างไรและการฝึ กป้องกันภัยทางอากาศจะสอดคล้องกับ การฝึ กร่วมกองทัพไทยหรือไม่ ผ ล ก าร วิจัย สาม ารถ ตอบสนองต่อการต้ังค าถาม การวิจัย ๒ ประการคือ การจัดการฝึกการป้องกันภยัทางอากาศที่เหมาะสมควรจัดให้มีทุกงานการฝึกท้ังการฝึกแลกเปลี่ยน/ ปรับมาตรฐาน การฝึ กปัญหาที่บังคับการ และการน ากา ลงัเขา้ป้องกันภยัทางอากาศ ณ ที่ต้งัตาม แผนฯ โดยการจัดก าลังเข้ารับการฝึ กทุกเหล่าทัพต้องจัดครบตามแผนป้องกันภัยทางอากาศ( สป ๔๗)รวมท้งัหน่วยในระบบต่อเชื่อมแลกเปลี่ยนข้อมูลการป้องกันทางอากาศอัตโนมัติ (JADDIN) ท้งั ทบ. ทร. และ ทอ. จะตอังจัดเข้าประจ าตาม รปจ. การปฎิบัติงานในระบบ JADDIN ท้งัศยอ.ทอ. ส่วนป้องกันภัยทางอากาศ ศปก. เหล่าทัพ การจัดในส่วนของหน่วยอาวุธต่อสู้อากาศยาน เพื่อทดสอบ การปฎิบตัิไดค้รบท้งัระบบ ส าหรับการฝึ กการป้องกันภัยทางอากาศร่วมกับงานการฝึ กร่วมกองทัพไทย น้นั ส่วนใหญ่พิจารณาให้ทา การฝึกแยกจากการฝึ กร่วมกองทัพไทย เนื่องจากที่ผ่านมายังไม่เคยท าการ ฝึกทดสอบร่วมกนั ท้งัระบบมาก่อน การฝึกร่วมกนัอาจเกิดปัญหาในการปฎิบตัิได้แต่เมื่อมีความพร้อม ในการปฎิบัติแลว้ ก็สามารถท าการฝึกทดสอบแผนพรัอมกันได้เพราะข้ันตอนการปฎิบัติตามแผน ป้องกนั ประเทศกบั ข้นั ตอนการปฎิบัติตามแผนป้องกันภัยทางอากาศ( สป ๔๗)สอดคลัองกันอยู่แล้ว ข้อเสนอแนะ การจัดการฝึ กป้องกันภัยทางอากาศที่ผ่านมายงัไม่เคยทา การฝึกท้งัระบบ ดงัน้นั กองบัญชาการกองทัพไทยที่เป็น หน่วยรับผิดชอบในการการด าเนินการในภาพรวม จึงควร พิจารณาจัดการฝึ กป้องกันภัยทางอากาศอย่างต่อเนื่อง และควรจัดการฝึ กร่วมกับส่วนราชการพลเรือน ที่เกี่ยวข้อง

abstract:

ABSTRACT Title : AIR DEFENCE TRAINING PREPARETION FOR ROYAL THAI ARMED FORCE By : Colonel NAVAKORN SANGUANSAKYOTIN Major Field : Military Research Advisor : Group Captain ( Prasong Janvilai ) Aug 2009 Air threat can be regarded as a major factor that has an effect on the strategy. Several countries have increasingly enhanced their air powers. The Royal Thai Armed Forces are concerned with this matter by preparing an air defense plan. The current plan is the Air Defense Plan (Sor Por 47) which is the responsibility of the Royal Thai Armed Forces Headquarters. However, the plan has not been tested as the joint forces. In the contemporary battle, the air power is commonly used to attack both the strategic and tactic targets. The joint training for the Royal Thai Armed forces is the Royal Thai Armed Force Joint Training which is responsibility of the Royal Thai Armed Forces Headquarters. However, the joint training is emphasized on the execution of the national defense plan without the training of the air defense plan. The air defense unit is assigned to the joint task force during the training without the testing of the entire air defense system. Without the training, there may be some cooperative problems among the armed forces when the air defense plan is executed.The importance of the air defense training is not only for the combat ready development of the Royal Thai Armed Forces to the national defense, but also for the modern development of the armed forces corresponding to the situation changes and the future tasks. Therefore, it is essential for the Royal Thai Armed Forces to have the air defense training during the Royal Thai Armed Force Joint Training to insure the readiness of the defense to the future threats in any dimension. The objectives of this research are to study the operations of the air defense of the Royal Thai Armed Forces and to find a suitable guideline for the air defense training. There are two hypotheses in this research. The first hypothesis is how to organize a suitable guideline for the administration of the air defense training. The second objective is the compatibility of the air defense training and the Royal Thai Armed Force Joint Training. This research is a qualitative research in which the secondary data is obtained from the Air Defense Plan (Sor Por 47), the guideline for the air defense, and the guideline for the Royal Thai Armed Force Joint Training. The primary data is obtained by interviewing the personnel who involved in the air defense training and the Royal Thai Armed Force Joint Training. The research methodology for the presentation of the data utilized the descriptive and analytical approaches as the major principle for the analysis and research. This methodology ensures a suitable guideline for the administration of the air defense training and the compatibility of the air defense training and the Royal Thai Armed Force Joint Training. The results from this research are responded to the two research questions which are as follows: a suitable guideline for the administration of the air defense training should contain the exchange and adjustment training, problem solving at the headquarters, and the deployment of the troops to the planned locations. The deployment of the armed forces for the training must be completed in accordance with the Air Defense Plan (Sor Por 47). In addition, the Joint Air Defense Digital Information Network (JADDIN) must be deployed by the armed forces in the routine procedures. The air defense training is normally separated from the Royal Thai Armed Force Joint Training. Even though both trainings have never been combined in the past, there may be some problems during the training. However, both trainings can be joined because the operation procedures of the National Defense Plan and the Air Defense Plan are compatible. The recommendations from this research indicate that the administration of the past air defense training has not been tested for the entire system. Therefore, the Royal Thai Armed Forces Headquarters, which is responsible for the overall training, should consider the continuation of the air defense training and should be a joint training with the related civil service.