เรื่อง: เจตคติของผู้บริหารรัดบกลางของสำนักงาน ป.ป.ส. ต่อการบริหารงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, นาย ธนากร คัยนันท์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2550
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : เจตคติของผู้บริหารระดับกลางของส านักงาน ป.ป.ส. ต่อ
การบริหารงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
โดย : นายธนากร คัยนันท์
สาขาวิชา : สังคมศาสตร์
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก
( ชนินทร เฉลิมทรัพย์)
กรกฎาคม ๒๕๕๒
ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่ประเทศต่างๆ ทวั่ โลกกา ลงัเผชิญอยู่และส่งผลกระทบท้งั
ในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและต่อความมั่นคงของประเทศที่ประสบกับปัญหาดังกล่าว
ดงัน้นั นานาประเทศจึงพยายามขจัดปัญหายาเสพติดให้หมดสิ้นไป ท้งัน้ีก็เพราะว่าหากประเทศใด
มีประชากรที่ติดยาเสพติดเป็นจา นวนมาก ประเทศน้นัก็ย่อมสูญเสียทรัพยากรมนุษยท์ ี่จะเป็นกา ลงั
ส าคัญในการพัฒนาประเทศในอนาคตและอาจน าไปสู่การล่มสลายของประเทศในภายภาคหน้า
หน่วยงานกลางของประเทศไทยที่ท าหน้าที่เป็ นศูนย์กลางในการอ านวยการและ
ประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐ องค์กรพัฒนาภาคเอกชนและองค์กรภาคประชาชน รวมท้ัง
ก าหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ตลอดจนบริหารจัดการ
ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของหน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องอย่างบูรณาการ
เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายและยุทธศาสตร์ที่กา หนดไวน้้นัคือ ส านักงานคณะกรรมการป้องกันและ
ปราบปรามยาเสพติด (ส านักงาน ป.ป.ส.) แต่อย่างไรก็ตาม การบริหารงานและการบริหารจัดการ
ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของส านักงาน ป.ป.ส. ที่ผ่านมาก็ยังไม่บรรลุผลส าเร็จ
ตามวัตถุประสงค์ที่ต้งัไวเ้ท่าที่ควร(ควบคุมปัญหายาเสพติดไม่ให้ขยายตวัและทา ให้ปัญหายาเสพติดลดลง) ท้งัน้ีเนื่องจากยงัคงมีปัญหาและอุปสรรคหลายประการ ท้งัในส่วนของทรัพยากรทางการ
บริหาร อันได้แก่ ขีดความสามารถในการด าเนินงานและจ านวนบุคลากรที่จ ากัด ความไม่คุ้มค่า
และความไม่มีประสิทธิภาพในการใช้จ่ายงบประมาณ กระบวนการด าเนินงานและการประสานงาน
ที่ไม่ประสานสอดคล้องและสนับสนุนซึ่ งกันและกัน ท้ังน้ีผู้วิจัยมีความประสงค์ที่จะศึกษาว่า
ผูบ้ ริหารระดับกลางของส านักงาน ป.ป.ส. น้ีจะมีเจตคติและมุมมองต่อการบริหารงานและการ
บริหารจัดการด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของส านักงาน ป.ป.ส. อย่างไร เพื่อที่จะได้
เป็นแนวทางในการปรับปรุง แก้ไขการกา หนดนโยบายและยุทธศาสตร์รวมท้ังการวางแผนการ
ดา เนินงาน ซ่ึงจะก่อให้เกิดประโยชน์อย่างยิ่งต่อการบริหารงานด้านการป้องกนัและแก้ไขปัญหายา
เสพติดให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของปัญหาและสนองตอบต่อความต้องการของประชาชน อัน
จะนา ไปสู่ผลดีต่อสังคมและความมนั่ คงของประเทศชาติต่อไป
การวิจยัเรื่องน้ีเป็ นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)โดยก าหนดสมมติฐาน
ไว้ว่า “ผู้บริหารระดับกลางของส านักงาน ป.ป.ส. ที่มีภูมิหลังต่างกัน (อายุ อายุราชการคุณวุฒิ
รายได้สถานภาพการสมรส) มีเจตคติต่อการบริหารงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ไม่แตกต่างกัน” โดยท าการเก็บรวบรวมข้อมูลและศึกษาค้นคว้าจากเอกสารวิชาการและรายงาน
การวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวมท้ังจากการสอบถามข้าราชการส านักงาน ป.ป.ส. ต าแหน่งเจ้าหน้าที่
วิเคราะห์นโยบายและแผน และหรือเจ้าหน้าที่สืบสวนสอบสวน ระดับ ๘/๘ว (หรือที่เรียกชื่อ
ต าแหน่งเป็นอย่างอื่นที่เทียบเท่ากัน) ที่เป็ นผู้บริหารระดับกลาง จ านวน ๘๑ คน โดยใชัเครื่องมือ
คือ แบบสอบถามที่สะท้อนถึงการวัดเจตคติของกลุ่มประชากรดังกล่าวต่อการบริหารงานป้องกัน
และแก้ไขปัญหายาเสพติดของส านักงาน ป.ป.ส.
สรุปผลที่ได้จากการวิจัยเจตคติของผู้บริหารระดับกลางของส านักงาน ป.ป.ส. ต่อ
การบริหารงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด คือ ข้าราชการของส านักงาน ป.ป.ส. ที่
เป็ นผูบ้ ริหารระดับกลาง ท้ัง ๒ สายงาน (สายงานวิเคราะห์นโยบายและแผน กับสายงานสืบสวน
สอบสวน) ซึ่งมีปัจจัยภูมิหลังต่างกัน มีเจตคติต่อการบริหารงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา
ยาเสพติด (การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าท างาน การน าองค์กร และการควบคุมการ
ด าเนินงาน) ไม่แตกต่างกัน โดยภาพรวมมีเจตคติอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐาน
ผู้วิจัยได้ให้ข้อเสนอแนะแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพในการการบริหารงานด้านการ
ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด คือ ผูบ้ ริหารในทุกระดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผูบ้ ริหารระดับสูง
ควรจะต้องให้ความส าคัญกับการบริหารงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ได้แก่ การ
วางแผน (การก าหนดเป้าหมาย กลยุทธ์และการจัดท าแผนงานเพื่อให้เกิดการประสานงานระหว่าง
กิจกรรมต่างๆ จะต้องมีการด าเนินการอย่างเป็นระบบและสอดคล้องกับสถานการณ์ปัญหา) การจัดองค์การ (การก าหนดงานที่จะต้องปฎิบัติผู้รับผิดชอบงาน การจัดกลุ่มงาน การรายงานผล และ
ล าดับของการตัดสินใจ จะต้องสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจ รวมท้งัมีระบบที่ชดั เจน)การจัด
คนเข้าท างาน (การวางแผนก าลังคน การสรรหา และการคัดเลือกบุคลากร รวมท้ังการสร้างขวัญ
และก าลังใจ จะต้องมีการด าเนินการอย่างเป็ นระบบและสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง) การน า
องค์กร (การจูงใจผู้ใต้บังคับบัญชา การสั่งการ การบังคับบัญชา การเป็ นผู้น า รวมท้ังการ
ติดต่อสื่อสารและการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง จะต้องมีระบบในการด าเนินการที่ชัดเจนและมี
ความเหมาะสมกับเหตุการณ์) และการควบคุมการด าเนินงาน (การตรวจสอบกิจกรรมที่ปฎิบัติ
เพื่อให้แน่ใจว่าได้ปฏิบัติส าเร็จลุล่วงตามที่ได้วางแผนไว้จะต้องมีการด าเนินการอย่างเป็ นระบบ
และมีข้นั ตอนการปฏิบตัิที่ชดัเจน) ตลอดจนงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน นอกจากน้ีแลว้
ในการพิจารณาความดีความชอบ ควรยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม โดยให้ความยุติธรรมแก่
ข้าราชการในสังกัดอย่างเสมอภาค สามารถสร้างความคาดหวัง ความเจริญก้าวหน้าในต าแหน่ง
หน้าที่ในอนาคตให้กับข้าราชการทุกนาย ท าให้ข้าราชการมีขวัญและก าลังใจที่ดี เพื่อทุ่มเทแรงกาย
แรงใจ และสติปัญญาในการปฏิบัติงาน ส าหรับการแบ่งมอบงานน้ัน ควรให้มีความเหมาะสมและ
ตรงกับความรู้ความสามารถโดยดา เนินการอย่างเท่าเทียมกนัและเสมอภาค รวมท้งัสนับสนุนและ
ส่งเสริมให้ขา้ราชการได้เพิ่มพูนความรู้ในสายงานที่รับผิดชอบและมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล เพื่อ
ความก้าวหน้าในต าแหน่งหน้าที่และมีจิตส านึกในการท างานให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ต่อไป
abstract:
ABSTRACT
Title : ATTITUDE OF MIDDLE MANAGERS OF OFFICE OF THE
NARCOTICS CONTROL BOARD TOWARD MANAGEMENT
OF DRUGS ABUSE PROBLEM SOLVING
By : Mr. Thanakorn Kaiyanunta
Major Field : Social Science
Research Advisor : Group Captain
(Chanintorn Chalermsup)
July2009
Drug problems are problems that countries worldwide are facing and its effect to
economic, social, cultural and security of the country, so many countries are trying to eliminate
drugs to end. That is because if any country has a population of drug addicts is that many
countries would have lost to a human resources who are important in developing countries in the
future and may lead to the collapse of the country's future.
Office of the Narcotics Control Board is the agencies of the central act in a central
direction and coordination with government organizations and private sector organizations,
including formulating policy and strategy to prevent and resolve drug. However, drugs problem
solving in the past is still not achieved the objectives as set (control and decrease drugs problem)
due to the problems and obstacles are still several in the resources management that do not cost
and inefficiencies in spending, including ability to operate and limit of the number of staff, nonalignment coordination and mutual support. This research is intended to study attitude of middle managers of Office of the Narcotics Control Board toward management of drugs abuse problem
solving. This result is to be use to update the policy and strategy as well as planning operations,
which will cause great benefit to the management process and drugs problem solving, including
meet the needs of people that will lead to benefits and social security of the nation.
This research is Quantitative Research, the assumptions is defined "middle managers of
Office of the Narcotics Control Board with different backgrounds (age, government period,
income qualified, marital status), have their attitude to the management of drugs abuse problem
solving not differences. The researcher collected data from Office of the Narcotics Control Board
staff who is Policy and Planning Analyst and/or Suppression Officer in Post Classification 8 (or
equivalent) and post in middle managers, with a total of 81 person. The tool is a questionnaire
that reflects the attitude of the temple of these populations. Besides this, the researcher also
collected data from research studies and technical documents from Office of the Narcotics
Control Board and concerned agencies.
Summary results from the research point of view is the attitude toward management of
drugs abuse problem solving of middle managers of Office of the Narcotics Control Board, who
is posted in different position (policy and planning or suppression position) and have different
background factors, does not vary. The overall attitude is of a medium that is based on
assumptions.
The researcher propose guidance in optimizing the management at all levels, especially
senior executives should focus on the management of drugs abuse problem solving, including
planning (formulating strategies and goals, establishing plans to ensure coordination between the
activities and in consistent with the situation and problems) organizing (define the tasks and job
description, reporting and decision making must be clear and consistent with the vision and
mission), human resource management (manpower planning and recruitment, personnel selection,
including strengthening the spirit and encouragement which is corresponded to the conditions
and reality). Command leadership (motivation, command, including communication and resolve
conflicts must have a clear system and appropriate to the event) and monitoring system (to check
the performance that they did, will attain success as a planned action or not). Besides this, shouldbe developed good moral principles and to do justice to the staff with the ethics ,including should
establish the career path and succession plan for the staff in order to encourage them to dedicated
effort. Finally, it should be provide an equal and equitable as well as support and encourage staff
to increase knowledge in a responsible and a vision for progress in the wide position and make
them aware in the work performance and effectiveness.