Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ประสิทธิภาพในการทำงานด้านการบรรเทาสาธารณภัย ศึกษากรณี กองบัญชาการกองทัพไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. เทพพงษ์ ธนสวัสดิ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2550
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : ประสิทธิภาพในการท างานด้านการบรรเทาสาธารณภัย :ศึกษากรณี กองบัญชาการกองทัพไทย โดย : พันเอก เทพพงษ์ ธนสวัสดิ์ สาขาวิชา : สังคมวิทยา อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาเอก ( ศุภเศรษฐ์ ศิริสังข์ไชย ) กรกฎาคม ๒๕๕๒ จากการศึกษาเรื่อง “ประสิทธิภาพในการท างานด้านการบรรเทาสาธารณภัย : ศึกษากรณี กองบัญชาการกองทัพไทย” เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานภายในศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองบัญชาการ กองทัพไทย ท้งัด้านนโยบาย และการปฏิบัติงานของหน่วยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับยุทโธปกรณ์รวมท้งั ศึกษาความเป็นไปได้ในการขอรับการสนับสนุนยุทโธปกรณ์เพิ่มเติมให้แก่ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองบัญชาการกองทัพไทย เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพโดยสมบูรณ์ ตลอดจนแนวทางการแก้ไขปัญหา เพื่อให้การปฏิบัติงานในด้านการบรรเทาสาธารณภัย เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ผลการวิจัยพบว่าการปฏิบัติงานด้านการบรรเทาสาธารณภัยของศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ควรมีบทบาท ๒ ลักษณะ คือ บทบาทในการบริหาร และบทบาทในการ ด าเนินการ ส าหรับบทบาทในการบริหารน้นั ให้ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ก าหนดนโยบาย และแผนงานด้านการบรรเทาสาธารณภัยให้ชัดเจน ท้งัเรื่อง ก าลังพล ยุทโธปกรณ์ การบริหารจัดการ และงบประมาณ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการด าเนินงานของหน่วยปฏิบัติส าหรับ บทบาทในการด าเนินการน้ัน ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ต้องมีการบริหาร จัดการภัยพิบัติในเชิงรุก มีการเตรียมการที่ดี มีความพร้อมที่เกิดจากการฝึ กซ้อมตามแผนปฏิบัติการ มีความพร้อมของยุทโธปกรณ์และสิ่งอุปกรณ์ซึ่งใช้ป้องกัน และลดความสูญเสียอันเกิดจากภัยพิบัติ มีการฟ้ืนฟูสภาพจิตใจของผู้ประสบภัยพิบัติให้กลับเข้าสู่สภาวะปกติโดยเร็ว รวมท้งัมีการประสาน กับส่วนราชการต่างๆ และภาคเอกชน ท้งัจากส่วนกลางและพ้ืนที่ประสบภยัพบิ ตัิเพื่อร่วมกนั ฟ้ืนฟู บูรณะสิ่งเสียหายให้กลับคืนสู่สภาพปกติโดยเร็ว ตลอดจนให้มีการบูรณะกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน การประกอบอาชีพ และการบริการของรัฐให้กลับคืนสู่สภาพปกติโดยเร็วที่สุด ABSTRACT Title : WORK EFFICIENCY IN PUBLIC DISASTER RELIEF OPERATIONS : A CASE STUDY OF ROYAL THAI ARMED FORCES HEADQUARTERS By : Colonel Theppong Thanaswat Major Field : Social Sciences Research Advisor : Captain ( Supaset Sirisungchai ) July2009 This study was conducted using qualitative research approach. The aims included to study the operations of Royal Thai Armed Forces Headquarters’ Public Disaster Relief Center both in terms of policy and work perform aspects relating to equipment ; to conduct a feasibility study in proposing an additional equipment and material support for the Royal Thai Armed Forces Headquarters’ Public Disaster Relief Center to increase its own efficiency ; and to study an appropriate problem solving approach in order to enhance the efficiency and effectiveness of the Center’ s public disaster relief operations. The study found that the Center Should employ two fundamental roles in performing the public disaster relief operations. Which comprised of the administrative and execution roles. For the administrative role. The Center should specify clearly all involving policies and public disaster relief plans in every aspect including personnel, equipment, management as well as budgets so that those who have to carry out the operations would have a well-defined guideline. For the execution role, the Center should employ an offensive disaster management approach; be well prepared; and retain a high level of readiness that derived from training that derived from training according to plans, and the completeness of equipment that used to protect and reduce losses from disaster. In addition, the Center should offer a rehabilitation program for those who suffered from disasters in order to be speedily recovered to normal, as well as coordinate with both public and private sectors to swiftly restore back to normal what had been damaged by the disasters.

abstract:

ไม่มี