เรื่อง: การศึกษาความเป็นไปได้ทาเทคนิค และการลงทุนในการใช้พลังงานทางเลือกเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าสำหรับหน่วยงานของกองทัพอากาศ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. ดำรงค์ เจริญทรัพย์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2550
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : การศึกษาความเป็นไปได้ทางเทคนิคและการลงทุนในการใช้พลังงานทางเลือก
เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าส าหรับหน่วยงานของกองทัพอากาศ
โดย : นาวาอากาศเอก ด ารงค์ เจริญทรัพย์
สาขาวิชา : วิทยาศาสตร์
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก
( อภิชาต แก้วประสพ )
กรกฎาคม ๒๕๕๒
งานวิจยัน้ี มีวัตถุประสงค์ที่จะประเมินศักยภาพในการใช้พลังงานลม และแสงอาทิตย์
แบบผสมผสาน เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในการผลิตไฟฟ้า ส าหรับหน่วยงานของ ทอ. โดยท าการ
พิจารณาคัดเลือก สถานีเรดาร์ที่ต้งัอยู่ในพ้ืนที่ที่มีความเหมาะสมมาเป็นกรณีศึกษา และคัดเลือก
ขนาดกงัหันลมและแผงโซลาร์เซลเพื่อนา มาผลิตไฟฟ้าส าหรับสถานีเรดาร์น้นั ๆ รวมท้งัคา นวณหา
ค่าใชจ้่ายในการติดต้งัและบา รุงรักษาตลอดอายุการใชง้าน เปรียบเทียบกับผลตอบแทนจากหน่วย
ไฟฟ้าที่ผลิตได้ เพื่อน ามาใช้งานในสถานีเรดาร์หรือขายคืนให้กับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และ
ประเมินระยะเวลาคุ้มทุนของโครงการ
จากการศึกษาศกัยภาพพลงังานลมของประเทศไทยพบว่า พ้ืนที่ทางภาคใต้ของประเทศ
บริเวณชายฝั่งทะเลมีกา ลงัลมแรงเพียงพอที่จะนา มาใชผ้ลิตกระแสไฟฟ้าจากกงัหันลม ประกอบกบั
ค่าความเขม้ของรังสีดวงอาทิตยใ์นพ้ืนที่ดงักล่าวมีค่าสูง เหมาะส าหรับการผลิตกระแสไฟฟ้าจาก
แผงโซลาร์เซล การส ารวจสภาพพ้ืนที่และรวบรวมขอ้มูลสถิติการใชไ้ฟฟ้าส าหรับสถานีเรดาร์ของ
ทอ. ๓ สถานี ได้แก่ สถานีรายงานภูเก็ต สถานีรายงานสมุย และสถานีรายงานเขาวังชิง พร้อมกับ
การคดัเลือกชนิด ขนาดของกงัหันลม รวมท้งัแผงโซลาร์เซลที่สามารถผลิตได้ในประเทศไทย
พบว่ามีคุณสมบัติเหมาะสมในการใช้พลังงานลม และแสงอาทิตย์เพื่อผลิตไฟฟ้าอย่างเพียงพอ
ส าหรับความตอ้งการใชง้านท้งัสถานี จากการประเมินความคุ้มค่าในการลงทุน โดยใช้ประโยชน์จากนโยบายส่งเสริมของรัฐ ที่ให้ผลตอบแทนในการขายคืนกระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้จากพลังงาน
ทดแทน กลับเข้าในระบบ GRID ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค สูงกว่าการผลิตไฟฟ้าโดยใช้พลังงาน
จากฟอสซิลทวั่ ไป ผลการคา นวณโครงการจะมีระยะเวลาคุม้ ทุนเฉลี่ย ๒๒ ปี
ในปัจจุบัน ราคาค่าไฟฟ้าของประเทศไทยยังอยู่ในเกณฑ์ต ่า เนื่องจากประเทศไทยยัง
สามารถใชก้๊าซธรรมชาติและถ่านหินลิกไนตเ์ป็นเช้ือเพลิงหลกัในการผลิตไฟฟ้า ทา ให้มีตน้ ทุนต่า
การพัฒนาพลังงานทดแทนในประเทศไทยจึงไม่ได้รับความสนใจเท่าที่ควร ซึ่งในอนาคตหากราคา
ก๊าซธรรมชาติสูงข้ึน เนื่องจากสัดส่วนการใชก้๊าซธรรมชาติในภาคการขนส่งเพิ่มมากข้ึน ประกอบ
กบั มีการผลิต ใชง้านกงัหันลม และแผงโซลาร์เซลแพร่หลายข้ึน จะทา ให้ตน้ ทุนการผลิตไฟฟ้าจาก
พลังงานทดแทนลดลงและมีผลท าให้ระยะเวลาคุ้มทุนของโครงการส้ันข้ึน
กองทัพอากาศ เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจด้านความมนั่ คงของประเทศเป็นส าคญั การ
แสวงหาแหล่งพลังงานส ารองไว้ใช้งานในภารกิจ โดยการพึ่งพาตนเองได้ ย่อมจะมีความคุ้มค่าใน
เชิงยุทธศาสตร์การพฒั นาเทคโนโลยีดา้นพลงังาน ดงัน้นั การริเริ่มศึกษา และตดัสินใจด าเนิน
โครงการติดต้งักงัหันลมร่วมกบัแผงโซลาร์เซลแบบผสมผสาน เพื่อใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าส าหรับ
หน่วยงานของ ทอ. จะเป็นหลักประกันด้านพลังงานที่มีความจ าเป็นในการปฏิบัติภารกิจของ ทอ.
และเป็นการลดความเสี่ยงในการรับมือกบัวิกฤตพลงังานที่จะเกิดข้ึนในอนาคต
abstract:
ABSTRACT
Title : Technical and Financial Feasibility Study of Using
Alternative Energy to Produce Electricity for the
Royal Thai AirForce Units
By : Gp.Capt. Dumrong Chareonsap
Major Field : Sciences
Research Advisor : Gp.Capt.
(Apichart Kaewprasop)
July 2009
The objective of this research is to study the feasibility as well as the return
rate calculation of using alternative energy from wind turbine and solar cell to produce
electricity from wind energy and solar energy in hybrid system for radar sites of the
Royal Thai Air Force. The wind maps of Thailand presented by the Department of
Energy Development and Promotion in the Ministry of Energy illustrate that the area
of Southern Thailand in particular, on the east coastline is a proper wind area and the
wind velocity is good enough for producing electricity from wind turbines. And the
solar energy in all areas of Thailand are excellent for producing electricity from solar
cells. The site survey and research on demanding of electricity consumption of the 3
radar sites of the Royal Thai Air Force on the Southern Thailand, namely: Phuket
Radar Site, Samui Radar Site and Khauwangching Radar Site have shown that it is
likely to install wind turbines and solar cells for producing electricity for the whole demand of each radar site. According to the possible calculation for return rate by
making use of advantages supporting by the government of higher return rate by using
of renewable energy to produce electricity shared into GRID system with the period of
break-event point within 22 years. The significant factors , namely : the oil and natural
gas prices, are fixed price. If these price factors are included and fluctuating, they will
affect the return rate period to be shorter. Therefore, the decision to launch project of
using wind turbines and solar cells in hybrid system for producing electricity energy
for such compact isolated radar sites of the Royal Thai Air Force in proper areas
should guarantee the risk reducing in coping with the approaching energy crisis.