Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางในการพัฒนาระบบตรวจสอบและประเมินผลสัมฤทธิ์ โดยสำนักงานจเรทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. จัตุรงค์ ภูมิยุทธ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2550
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : แนวทางในการพัฒนาระบบตรวจสอบและประเมินผลสัมฤทธิ์ โดย ส านักงานจเรทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย โดย : พันเอก จัตุรงค์ ภูมิยุทธิ์ สาขาวิชา : สังคมวิทยา อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก ( อุนฤทธิ์ นวลอนงค์) กรฏาคม ๒๕๕๒ การปฏิรู ประบบบริหารราชการ ตามแผนยุทธ์ศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ.๒๕๔๖ -๒๕๕๐ น้ัน เน้นผลสัมฤทธิ์ ของงานเป็ นหลัก พิจารณาผลลัพธ์ของงาน และการเน้น ประสิทธิผลของการปฏิบัติราชการ โดยมี พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖ เป็ นกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบราชการ มีคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ท าหน้าที่เสนอแนะ ประสานงาน พิจารณาติดตามและประเมินผลกระบวนงานที่กา หนดข้ึน กองบัญชาการกองทัพไทย เป็นส่วนราชการหนึ่งที่จะต้องปรับปรุงกระบวนการในการปฏิบัติราชการ ให้สามารถผ่านเกณฑ์การประเมินผลของ ก.พ.ร. ซึ่ งการปฏิบัติราชการของกองบัญชาการกองทัพไทย น้ัน มีส านักงานจเรทหาร เป็นหน่วยรับผิดชอบด าเนินการตรวจสอบและติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการ ให้เป็ นไปตามระเบียบของทางราชการ โดยผลการประเมินแสดงถึงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ แต่ไม่อาจแสดงให้เห็นถึงผลสัมฤทธิ์ ของการด าเนินงาน ตามแผนการปฏิบัติราชการได้อย่างแท้จริง การศึกษาวิจัยเรื่อง “แนวทางในการพัฒนาระบบตรวจสอบและประเมินผลสัมฤทธิ์ โดย ส านักงานจเรทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย” จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบ รูปแบบและการด าเนินการตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของ ส่วนราชการพลเรือนและส านักงานจเรทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย ที่แสดงให้ทราบถึงผลสัมฤทธิ์ ของการ ด าเนินงานตามแผนการปฏิบัติราชการ โดยศึกษาเกี่ยวกับ แนวคิดทฤษฎี และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ประกอบกับข้อมูลความคิดเห็นจาก ผู้เชี่ยวชาญด้านการตรวจสอบและประเมินผลและข้อมูลจาก แบบสอบถามหน่วยรับการตรวจ และน ามาก าหนดกรอบแนวทางในการพัฒนาระบบตรวจสอบ และประเมินผลสัมฤทธิ์ โดย ส านักงานจเรทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย ผลการศึกษาวิจัยพบว่า รู ปแบบการตรวจราชการของส านักงานจเรทหาร ส านักผู้- บัญชาการทหารสูงสุด กองบัญชาการกองทัพไทยน้ัน เป็นการตรวจการปฏิบัติราชการตาม กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ของทางราชการ โดยเน้นการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า และให้ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อทางราชการ ซึ่งผลการตรวจสอบประเมินผลในการปฏิบัติราชการบอกได้ ถึงประสิทธิภาพของหน่วยงานน้ัน ๆ อีกท้งัยงัไม่มีการน าผลการตรวจสอบประเมินผลการปฏิบัติ ราชการของหน่วยรับการตรวจ ไปใช้ประโยชน์อย่างแท้จริง ซึ่งท าให้ไม่สามารถพัฒนาการปฏิบัติ ราชการของหน่วยงานได้ การตรวจสอบและประเมินผล ประสิทธิผลหรือผลสัมฤทธิ์ ของการ ปฏิบัติราชการ ตามแผนงานโครงการ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ของหน่วย จะเป็นเครื่องมือหนึ่ง ในการพัฒนาหน่วยงาน และเป็นเครื่องมือของผู้บังคับบัญชาในการตัดสินใจอีกทางหนึ่ง กรอบแนวทางในการพัฒนาการตรวจราชการของ ส านักงานจเรทหาร ที่เป็ นรูปธรรม คือการ ปรับปรุงหัวขอ้การตรวจ และรูปแบบการตรวจเพิ่มเติมจากการตรวจการปฏิบตัิราชการตามกฎหมาย ๑๐ สายงาน(การสารบรรณ การกา ลงัพล การรักษาความปลอดภยั การจัดหา การปฏิบัติต่อสิ่งอุปกรณ์ สายช่าง สายขนส่ง สายสื่อสาร สายพลาธิการ สิ่งอุปกรณ์ประเภท ๓ การปฏิบัติต่อสิ่งอุปกรณ์สาย สรรพาวุธ)โดยเพิ่มการตรวจการปฏิบัติราชการในมิติด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ ด้านประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการ และด้านการพัฒนาองค์กร กา หนดตวัช้ีวัดให้สอดคลอ้งกับแผนงานโครงการของ หน่วยรับตรวจ สรุปและรายงานผลการตรวจสอบประเมินผล ตามสายงานการบังคับบัญชา เพื่อให้ ผู้บังคับบัญชาทราบและเป็นข้อมูลในการตัดสินใจบริหารงานต่อไป

abstract:

ABSTRACT Title : DEVELOPMENT OF CROSS – CHECKING AND EVALUATION OF OUTCOME SYSTEM BY OFFICE OF INSPECTOR GENERAL THAI ARMED FORCES HEADQARTER By : Colonel Chatturong Pumeeyuth Major Field : Social Sciences Research Advisor : Colonel ( Unarit Nualanong ) June 2009 Reform of Public Sector Administration System, as constituted in the Strategic Plan on Thailand’s Public Sector System Development B.E.2546 – 2550, emphasizes principally on work achievement; work outcome consideration; and effectiveness of work conduct by the public sector. These are motivated through having the Royal Decree on Criteria and Methods of Good Governance B.E.2546 as a mechanism in driving the public sector development, with the Office of Public Sector Development Commission (OPDC) to advise, coordinate, follow-up and evaluate the established work process. Royal Thai Armed Forces Headquarters is an organization in the Public Sector that requires improvement of its process, in order to pass the criteria set by the OPDC. The responsibility of cross-examination, follow-up and evaluation of the Headquarters to ensure that the unit performs in conformity with the government regulations is delegated to the Office of Inspector-General. The evaluation result indicates efficiency in work conduct, but it is unable to show clear achievement of work that has followed a set work plan.The study on “Development Guideline of System of Cross-examination and Achievement Evaluation by Office of Inspector-General, Royal Thai Armed Forces Headquarters” aims at conducting comparative study of formats and methods of cross￾examination and evaluation of civilian government agencies, and Office of Inspector-General under the Royal Thai Armed Forces with established achievement record data, following the set work plan. The study looks at conceptual theories, related literatures, together with collection of data of opinions from experts in cross-examination and evaluation, as well as from questionnaires given to examination-recipient units. The results are then used to outline the guideline of cross￾examination and work achievement system development by the Office of Inspector-General, Royal Thai Armed Forces Headquarters. The results of the study have found that the formats used to cross-examine by Office of Inspector-General, Office of the Chief of Defence Forces of the Royal Thai Armed Forces Headquarters follow stipulated law, regulations, restrictions of the government. Emphasis is placed on efficient use of available resources, and for maximum benefit of the organization. Moreover, the outcome of the cross-examination gives indication of efficiency of the units under scrutiny, but the evaluated result has yet to be further used for real benefits, and hence no proper development of the organization can be achieved. The cross-examination and evaluation, effectiveness or achievement of work in correspondent with project plans, strategies, and organization’s goals are some of the tools used to develop the organization, and will help commanding officers in their decision making. The realistic framework of development in cross-examination process of the Office of the Inspector-General is to improve on and increase branch categories for cross-examination and formats, besides the existing 10 branch categories (namely, adjutant-general, personnel, security, procurement, use of equipment for engineering work; transport; communications; quarter-master work, use of category 3 items, and use of equipment for ordnance support). Additional cross￾examination should be placed on aspects concerning organization task effectiveness, work efficiency, and organization development. Furthermore, key indicators should be determined in line with the project plan of the units under scrutiny. Summary and report of the cross￾examination and evaluation should then be submitted through the chain of command to inform the commanding officers who will use this information as part of the decision making on work management.