Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การวิเคราะห์อากาศยานอุบัติเหตุของกองทัพอากาศ พ.ศ.2546-2551 เพื่อการกำหนดแนวทางการตรวจสอบมาตรฐานความปลอดภัยการบิน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. จักรวัชร จงสืบสุข
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2550
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : การวิเคราะห์อากาศยานอุบัติเหตุของกองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๔๖-๒๕๕๐ เพื่อการก าหนดแนวทางการตรวจสอบมาตรฐานความปลอดภัยการบิน โดย : นาวาอากาศเอก จักรวัชร จงสืบสุข สาขาวิชา : การทหาร อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก ประสงค์ จั่นวิลัย (ประสงค์ จนั่ วิลยั) ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๒ จากเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนในแต่ละปีกองทัพอากาศยังคงมีความสูญเสียบุคลากรและ อากาศยานอันเนื่องมาจากอากาศยานอุบัติเหตุ ซึ่งหากยังคงมีการเกิดอากาศยานอุบัติเหตุไปเรื่อย ๆ จะท าให้กองทัพอากาศไม่สามารถด ารงการปฏิบัติให้เป็ นไปตามแผนปฏิบัติทางอากาศได้ ดังน้ัน เพื่อเป็ นการรักษาสภาพของก าลังทางอากาศ จึงต้องศึกษาถึงสาเหตุและองค์ประกอบสาเหตุของ อากาศยานอุบัติเหตุของกองทัพอากาศที่เกิดข้ึนในอดีต โดยทา การวิเคราะห์ตามหลักทฤษฎีและ จ าแนกสถิติอากาศยานอุบัติเหตุให้เป็ นไปตามรูปแบบสากล เพื่อน าข้อมูลที่ได้ใช้เป็ นแนวทาง ป้องกนั มิให้เกิดอากาศยานอุบตัิเหตุหรือความสูญเสียที่อาจเกิดข้ึนในอนาคต ท้งัน้ีหากศึกษาได้ว่าสาเหตุหลักของการเกิดอากาศยานอุบัติเหตุของกองทัพอากาศ มี สาเหตุมาจากอิทธิพลองค์กร และเมื่อน าแนวทางการตรวจสอบมาตรฐานความปลอดภัยการบินที่มี ความสัมพันธ์กับโครงสร้างและภารกิจของหน่วยบิน ไปท าการตรวจสอบเพื่อประเมินค่าระดับ ความปลอดภัยของหน่วยบินตามช่วงระยะเวลาที่เหมาะสม จะท าให้สามารถแก้ไขในเรื่องความ เสี่ยงแอบแฝงหรืออันตรายซ่อนเร้นในองค์กรได้ ซึ่ งจะท าให้การปฏิบัติการบินของหน่วยบิน มีความปลอดภยัสูงข้ึนการวิจัยน้ีเป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิเคราะห์เชิงพรรณนา โดยใช้ข้อมูล รายงานการสอบสวนอากาศยานอุบัติเหตุของกองทัพอากาศ จ านวน ๒๔ รายงาน มาจ าแนก ขอ้ มูลในรูปแบบการวิเคราะห์ของกองทพั อากาศ รวมท้ังน าระบบวิเคราะห์มนุษย์ปัจจัยเพื่อการ ป้องกันอากาศยานอุบตัิเหตุมาใช้ท้งัการสรุปสาเหตุของอากาศยานอุบตัิเหตุและสรุปขอ้ เสนอแนะ การแก้ไขสาเหตุที่ท าให้เกิดอากาศยานอุบัติเหตุ ตลอดจนการเลือกสัมภาษณ์ผู้ที่เชี่ยวชาญงานด้าน นิรภัยการบิน เพื่อให้ความคิดเห็นที่เกี่ยวขอ้งกบัการวิจยัคร้ังน้ี การวิเคราะห์ในรูปแบบของกองทัพอากาศพบว่า ความสูญเสียที่เกิดข้ึนจากอากาศยาน อุบัติเหตุในรอบ ๕ ปี (๒๕๔๖-๒๕๕๐) มีนักบินเสียชีวิต ๑๔ คน เจ้าหน้าที่ประจ าอากาศยาน เสียชีวิต ๕ คน อากาศยานจ าหน่าย ๑๗ เครื่อง และอากาศยานเสียหายมาก ๕ เครื่อง โดย สาเหตุของอากาศยานอุบัติเหตุส่วนใหญ่เกิดจากบุคคล โดยเฉพาะความผิดพลาดที่เกิดจากนักบิน ซึ่งจะเกิดข้ึนในช่วงข้นั ตอนการบินลงสนามบินและข้นั ตอนการวิ่งข้ึน ท้งัน้ีมีผลมาจากการที่นกับิน ไม่ปฏิบัติตามข้ันตอนการปฏิบัติการใช้วิจารณญาณและการตัดสินใจผิดพลาด และการขาด ประสบการณ์ความช านาญในการบิน แต่อย่างไรก็ตาม แม้ว่าสาเหตุส่วนใหญ่ของอากาศยาน อุบัติเหตุเป็ นความผิดพลาดที่เกิดข้ึนจากนักบิน แต่เมื่อน ามาวิเคราะห์ด้วยระบบวิเคราะห์มนุษย์ ปัจจัยเพื่อการป้องกันอากาศยานอุบตัิเหตุ ทา ให้พบว่าสาเหตุที่ทา ให้นักบินเกิดความผิดพลาดน้ัน ส่วนใหญ่มีผลมาจากอิทธิพลองค์กรเป็ นอันดับแรก อันดับรองลงมาคือ สภาพเงื่อนไขที่เกิดก่อน การกระท าที่ไม่ปลอดภัย อีกท้งั เมื่อน าขอ้เสนอแนะและขอ้แก้ไขของอากาศยานอุบตัิเหตุท้งัหมด มาวิเคราะห์ ยังพบว่าขอ้เสนอแนะและขอ้แก้ไขน้นั ๆ เกี่ยวขอ้งกับการแก้ไขสาเหตุของอากาศยาน อุบัติเหตุมากที่สุดคือเรื่องของอิทธิพลองค์กร ได้แก่ เรื่องของการบริหารจัดการทรัพยากร การจัด กระบวนการท างานขององค์กร และการจัดและการสร้างบรรยากาศภายในองค์กร รองลงมาคือ การก ากับดูแลอย่างไม่ปลอดภัย ได้แก่ การก ากับดูแลไม่เพียงพอ ความไม่พร้อมของ เอกสารอา้งอิงและข้นั ตอนการปฏิบตัิการวางแผนการปฏิบตัิงานไม่เหมาะสม การปฏิบัติที่ไม่ได้ รับรู้ถึงอันตรายที่จะเกิดข้ึน และการก ากับดูแลไม่เป็นไปตามกฎเกณฑ์ จะเห็นว่าสาเหตุของอากาศยานอุบัติเหตุและข้อเสนอแนะ/ข้อแก้ไขมีความสอดคล้องกัน ในเรื่องของอิทธิพลองค์กร ที่สามารถกลายเป็นสาเหตุหลักของการเกิดอากาศยานอุบัติเหตุ และใช้ เป็นหลักในการป้องกันอากาศยานอุบัติเหตุที่อาจเกิดข้ึนในอนาคตไดเ้ช่นกนั และหากมีการกา กับ ดูแลที่ดีควบคู่กันไป จะสามารถทา ให้การป้องกันอากาศยานอุบตัิเหตุมีประสิทธิภาพเพิ่มข้ึนมาก อีกท้ังยงัเป็นการช่วยยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยการบินขององค์กรให้สูงข้ึน ดังน้ัน จึงจา เป็นต้องมีตวัช้ีวดัเพื่อบ่งบอกถึงระดับความปลอดภัยในการปฏิบัติภารกิจการบินขององค์กร ซึ่งต้องให้มีการตรวจสอบมาตรฐานความปลอดภัยการบินของแต่ละหน่วยบินตามแนวทางที่ก าหนดABSTRACT Title : RTAF Aircraft Accident Analysis in 2003-2007 to Define the Aviation Safety Standard&Evaluation By : Group Captain Jukkrawat Jongsuebsook Major Field : Military Research Advisor : Group Captain Prasong Janvilai (Prasong Janvilai) 28 July 2009 In the events which took place in each year, the Royal Thai Air Force got lost in both personnel and aircraft from the aircraft accidents. If the aircraft accidents still occur, the Royal Thai Air Force could not maintain the air operation in according to the national air defense plan. To maintain the air power for the operation plan, it is important that studying in both the causes and cause factors of aircraft accident occurred in the past by analyzing with safety theory and classifying as international figure. For the result of using those data is the guideline to prevent the aircraft accident or loss of accident which may occur in the future. Thus, if the studying is found that majority’s cause of the aircraft accident, it would be the organizational influences. Then, the aviation safety standard & evaluation which relates to structure and mission’s organization is been using for auditing and evaluating of safety level in the suitable period, it could correct the latent failure or operational risk in the organization for higher safety level.This research is the qualitative research as a descriptive research. By using data of the 24-aircraft accident reports, they are analyzed and classified in the Royal Thai Air Force categories. In addition, the application of the human factors analysis and classification system in aircraft prevention is used to conclude the causes the aircraft accident and recommendations of the aircraft accident prevention. To interview the aviation safety specialists is to collect their opinions which involved in this research. To analyze data’s the aircraft accidents during 2003- 2007 in the Royal Thai Air Force characteristic, it is explored that the loss of accident had 14-pilot fatalities, 5-aircrew fatalities, 17-aircraft loss and 5-aircraft major damages. Most causes of the accident cause of personnel especially pilot errors. Phase of flight which is dangerous are landing phase and taking-off phase. For these pilot errors is the results of 1) deviated from basis operational procedures 2) poor decision making and judgment 3) lack of experiences and skill. Even though, most causes of the aircraft accidents are pilot errors. When the application of the human factors analysis and classification system in aircraft prevention is used to analyzed, it is found that those pilot errors had the results of the organizational influences and the preconditions for unsafe acts. Besides, the recommendations of the aircraft accident prevention is proved in the same way which the organizational influences is the majority’s of the aircraft accident prevention when a new theory is applied. As above, it seems to be the majority’s cause of the aircraft accident and the recommendations of the aircraft accident prevention are according to the organizational influences. Thus, it should be the majority’s cause of the aircraft accident and the principle of the aircraft accident prevention in the future. Whenever, a having efficiency supervision is been running in parallel as the operational organization, it could prevent causes of the aircraft accident and increase the aviation safety standard in high level. So, it is necessary to have indicator for monitoring the safety level of the air operation. Then, it must be arranged to have the aviation safety standard & evaluation in each the Air Force Base by using defined guideline.

abstract:

ไม่มี