Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนาระบบกำลังพลสำรองของกองทัพอากาศ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. สุวรรณ ขำทอง
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2548
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : แนวทางการพัฒนาระบบก าลังพลส ารองของกองทัพอากาศ โดย : นาวาอากาศเอก สุวรรณ ข าทอง สาขาวิชา : การทหาร อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก (เกรียงศักดิ์ หนองปิ งค า) มิถุนายน ๒๕๕๐ กองทัพอากาศได้มีการด าเนินการในกิจการระบบก าลังพลส ารองภายใต้ข้อบังคักระทรวง กลาโหมว่าดว้ยการเตรียมพล พ.ศ.๒๕๑๕ โดยเริมต้งัแต่ปีพ.ศ.๒๕๑๖ กองทัพอากาศยังไม่ได้มีการ ปรับปรุงแผนการพฒั นาระบบกา ลงัพลส ารองท้งั ๕ ระบบย่อย กล่าวคือ ระบบผลิตกา ลงัพลส ารอง ระบบควบคุมก าลังพลส ารอง ระบบการฝึ กศึกษาก าลังพลส ารอง และ ระบบการบรรจุและการใช้ กา ลงัพลส ารอง การวิจยัคร้ังน้ี มีวตัถุประสงคเ์พื่อศึกษาหาวิธีดา เนินการพฒั นาระบบก าลังพลส ารอง ของกองทัพอากาศให้มีประสิทธิภาพและตรงต่อความต้องการของกองทัพอากาศ ส ำหรับกำรดำ เนินกำรวิจยัน้ัน ผูท้ ำ กำรวิจยัไดก้ำ หนดระเบียบวิธีวิจยั โดยกำรทำ กำรวิจยัเชิง คุณภำพ (Quality Research) แบบพรรณนำ ศึกษำค้นคว้ำจำก ต ารา เอกสารทางราชการ เอกสำร ทำงวิชำกำรที่เกี่ยวข้องกับระบบก ำลังพลส ำรอง และข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการ พฒั นาระบบกา ลงัพลส ารอง ของ กองทพัอากาศ นา มาวิเคราะห์เชิงเน้ือหา (Content Analysis) แล้วสรุปเป็นผลการวิจัย และข้อเสนอแนะ จากการวิจยั คร้ังน้ีพบว่า ระบบกา ลงัพลส ารองของกองทพัอากาศ ปัจจุบนั ยงัขาดการ พฒั นาให้สามารถดา เนินการปฏิบตัิไดจ้ริง ท้งั ๕ ระบบดงักล่าวแล้ จากผลการวิจัยกองทัพอากาศควรด าเนินการพัฒนาระบบก าลังพลส ารองของ กองทพัอากาศ ดงัน้ีกรมยุทธการทหารอากาศ ดา เนินการจัดทา บญั ชีบรรจุก าลังพลให้พร้อมโดยเร็ว จดั ต้งัหน่วยงานข้ึนมารับผิดชอบกิจการกา ลงัพลส ารองโดยตรง โดยต้งัเป็น กรมกา ลงัพลส ารองทหาร อากาศ หรือ หน่วยบัญชาการก าลังพลส ารองทหารอากาศ ให้มีหน้าที่ก ากับดูแล และพัฒนาระบบกา ลงัพลส ารอง ทอ. ท้งั ๕ ระบบ ซ่ึงมีแนวทางการพฒั นา คือ ระบบการผลิตก าลังพลส ารอง ก าลังพล ส ารอง ตอ้งมาจากการเกณฑ์หรือการอาสาสมคัร เท่าน้นั น าระบบสารสนเทศมาใชใ้นการดา เนินการ ในระบบควบคุม ระบบการฝึ กและศึกษา การเรียกพลหรือระดมพล และ การบรรจุและการใช้งาน ก าลังพลส ารอง โดยจัดท า web site เพื่อความสะดวกให้กับก าลังพลส ารอง และให้ก าลังพล ส ารองเป็นผู้รับผิดชอบตัวในแต่ละระบบ ตลอดจนน าผลการศึกษาและการฝึ กในระบบต่าง ๆ มา พิจารณาเลื่อนช้นัยศจากพลทหารกองหนุน เป็น นายทหารประทวนกองหนุน และนายทหารสัญญา บตัรกองหนุนตามลา ดบั ซ่ึงหากกองทพัอากาศสามารถพฒั นาระบบกา ลงัพลส ารองท้งั ๕ ระบบย่อย ตามแนวทางการพัฒนาที่ผู้วิจัยเสนอแนะ แล้วจะเกิดประโยชน์อย่างมากต่อกองทัพอากาศ

abstract:

ABSTRACT Title : The Royal Thai Air Force Reserve PersonnelSystem Development Program By : Group Captain Suwan Khumthong Major Field: Military Science Research Advisor : Group Captain (Kriangsak Nongpingkham) June 2007 The Royal Thai Air Force has been operating a personnel system under the Ministry of Defense Military Preparedness Regulation B.E.2515,in force since B.E.2516. Nevertheless, the RTAF has yet to implement the reserve personnel development system, comprising 5 distinct schemes, namely reserve personnel product, control, training, and deployment. This research aim to formulate a reserve personnel system that efficient and fulfils requirements of the RTAF The methodology used is a descriptive qualitative research, derived from authoritative sources, official documents, academic publications relevant to reserve personnel issues, and content of various interviews conducted on interviewees related specifically to reserve personnel concern of the RTAF. Afterward, a content analysis was executed, yielding research summary and policy recommendation. In this research, it is discovered that the present reserve personnel system as currently practiced by the RTAF lacks certain developmental requirement for real implementation in all 5 schemes cited above. This research yields the following recommendation: the RTAF Directorate of Operations should promptly compile a reserve personnel procurement panel, create an agency directly responsible for reserve personnel procurement as RTAF Directorate of Reserve Personnel or RTAF Reserve Personnel Command. Such an agency would be responsible for overseeing and developing all 5 RTAF reserve personnel procurement schemes as above identified. The guideline is that reserve must be procured thru either conscription or enlistment. A more comprehensive use of information dissemination should be implemented in the control, training, mobilization, reserve personnel posting and deployment. This can be achieved thru the creation of a web site to coordinate reservists and each reserve force would be responsible for its system. Finally, the grades and training records as appear in the reservists’ transcripts can be used in the consideration for promotion of private-class reservists to the levels of non-commission officer, and officers accordingly. Should the recommendation herein stated be implemented, it may prove useful for the needs of the RTAF.