Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการทหาร สังกัด กรมกำลังพลทหาร

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. สุรพล ประสงค์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2548
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

ก ค ำน ำ องคก์ ารทุกองค์การจะประสบผลส าเร็จและบรรลุจุดมุ่งหมายที่กา หนดไดน้ ้นั ส่วนหน่ึง เกิดจากการใชท้ รพั ยากรบุคคล ซ่ึงเป็นทรพัยากรที่ส าคญั ที่สุดทจี่ ะทา ใหอ้งคก์ ารน้นั เจริญกา้วหนา้ ต่อไป หรือล้มเหลว การท างานที่มีประสิทธิภาพ มีระบบงานที่ดี บุคลากรได้ทุ่มเทก าลังกาย ก าลังใจ อุทิศตนให้กับองค์การ ส่วนหนึ่งก็เกิดจากความสามารถของผู้น าในการบริหารงานและ โนม้ นา้วให้บุคลากรในองคก์ ารมีความผูกพนัและมีความพึงพอใจในการปฏิบตัิงาน ท้งัน้ีเพื่อเป็น แรงจูงใจให้มีความพร้อม ความเชื่อมนั่ ความกลา้หาญ ความเต็มใจ และเสียสละเพื่อองค์การจน น าไปสู่ความส าเร็จของเป้าหมาย อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การวิจัยคร้ังน้ี จึงได้มุ่งเน้นที่จะศึกษาถึงปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อระดับความผูกพนัของ ข้าราชการทหาร สังกัดกรมก าลังพลทหาร โดยได้เปรียบเทียบระดับความผูกพันของนายทหาร สัญญาบัตรกับนายทหารประทวน สังกัดกรมก าลังพลทหาร ว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่ เพื่อหา แนวทางในการปรับปรุงการบริหารงานก าลังพล และเสริมสร้างให้ข้าราชการทหาร สังกัดกรมก าลังพล ทหาร มีความผูกพนั ต่อหน่วยงานมากยิ่งข้ึน การจัดทา เอกสารวิจัยคร้ังน้ีได้ส าเร็จลุล่วงด้วยดี โดยไดร้ับความร่วมมือจากบุคคล หลายฝ่ าย ผู้วิจัยขอขอบคุณข้าราชการทหาร สังกัดกรมก าลังพลทหารทุกนาย ที่ได้เสียสละเวลาใน การตอบแบบสอบถาม และให้ขอ้เสนอแนะที่เป็นประโยชน์อยา่ งยิ่ง โดยเฉพาะ พลตรีวีระ วงศส์ รรค ์ อาจารยท์ ี่ปรึกษาสายวิทยาการ รวมท้งั พนั เอก กิตติภคั ทองธีรธรรม อาจารย์ที่ปรึกษา และ ขอขอบคุณผูท้ ี่ไดก้รุณาให้การสนบั สนุนอีกหลายท่าน ที่ช่วยให้การวิจยัคร้ังน้ีประสบผลส าเร็จและ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาในหลักสูตรเสนาธิการทหารทุกประการ พันเอก (สุรพล ประสงค์) นักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที่๔๘ พฤษภาคม ๒๕๕๐บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการทหาร สังกัด กรมก าลังพลทหาร โดย : พันเอก สุรพล ประสงค์ สำขำวิชำ : สังคมจิตวิทยา อำจำรย์ที่ปรึกษำเอกสำรวิจัย : พันเอก (กิตติภัค ทองธีรธรรม) พฤษภาคม ๒๕๕๐ การท าเอกสารวิจัย เรื่อง “ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการทหาร สังกัดกรมก าลังพล ทหาร” มีความมุ่งหมายเพื่อให้ทราบว่า ปัจจุบันข้าราชการในกรมก าลังพลทหาร มีความผูกพันต่อ องค์การอยู่ในระดับใด และมีปัจจัยส าคัญอะไรที่มีอิทธิพลต่อระดับความผูกพัน เพราความผูกพัน ต่อองค์การ มีความส าคัญต่อการปฏิบัติงาน หากข้าราชการทหารในหน่วยมีความจงรักภักดีต่อองค์การ เขาก็พร้อมที่จะทุ่มเทก าลังกายและก าลังใจของตน เพื่อปฏิบัติงานอย่างเต็มที่ให้แก่องค์การ โดย ผูว้ิจยัไดต้้งัสมมติฐานของการวิจยัไวว้่า นายทหารสัญญาบตัรกบั นายทหารประทวน สังกดักรม ก าลังพลทหาร มีความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกัน กลุ่มประชากรที่ใช้ท าการวิจัย ได้แก่ ข้าราชการ ทหาร สังกดักรมกา ลงัพลทหาร ยกเวน้ นายทหารช้นั นายพล จา นวน ๑๕๖ นาย การวิจยัคร้ังน้ีได้ ใชแ้บบสอบถามเป็นเครื่องมือในการหาขอ้ มูลปฐมภูมิ เป็นขอ้มูลพ้ืนฐานของผูต้อบแบบสอบถาม และข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันขององค์การที่ส าคัญ ๘ ด้าน คือ ความก้าวหน้าในการท างาน การมีส่วนร่วมในการบริหารงาน ลักษณะงานที่มีการติดต่อสัมพันธ์ กับผู้อื่น ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ทัศนคติต่อผู้ร่วมงาน ระบบในการพิจารณาความดีความชอบ รายได้ และสวัสดิการ และความสัมพันธ์ระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชา เมื่อได้ ด าเนินการรวบรวมข้อมูลที่ต้องการแล้ว จึงน าข้อมูลไปวิเคราะห์ทางสถิติ โดยใช้โปรแกรม SPSS for Windows เพื่อหาค่าร้อยละของขอ้มูลพ้ืนฐานของกลุ่มประชากร ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)และ ค่า Z –test โดยก าหนดนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕ผลการวิจัยพบว่า ข้าราชการทหาร สังกัดกรมก าลังพลทหาร มีระดับความผูกพันต่อ องค์การอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาในแต่ละปัจจัยแล้ว พบว่า ปัจจัยด้านความสัมพันธ์ ระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชา ปัจจัยด้านการมีส่วนร่วมในการบริหารงาน และปัจจัย ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ มีความผูกพันอยู่ในระดับสูงตามล าดับ ส าหรับปัจจัยด้านอื่น ๆ มีความ ผูกพันอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อเปรียบเทียบระดับความผูกพันของนายทหารประทวนกับ นายทหารสัญญาบัตรแล้ว พบว่า โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐาน แต่เมื่อ พิจารณาในแต่ละปัจจัย พบว่า มีความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญที่ระดับ .๐๕ เฉพาะปัจจัยด้านความก้าวหน้าในการท างาน และปัจจัยด้านทัศนคติต่อผู้ร่วมงาน โดยที่นายทหาร ประทวนมีความคิดเห็นว่า มีความก้าวหน้าในการท างาน และมีทัศนคติที่ดีต่อเพื่อนร่วมงานมากกว่า นายทหารสัญญาบัตร ส าหรับปัจจัยด้านอื่นๆ มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน ข้อเสนอแนะจากการศึกษาวิจัย คือ ผู้บังคับบัญชาต้องยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม และ ต้องเป็นผู้มีภาวะผู้น าสูง เป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้ใต้บังคับบัญชา ดูแลและให้ความเป็นธรรมอย่าง เสมอภาค โดยไม่เลือกปฏิบัติ ควรเอาใจใส่ด้านสิทธิก าลังพลและสวัสดิการ ซึ่งเป็นปัจจัยที่ท าให้ ขา้ราชการทหารขาดขวญั กา ลงัใจในการปฏิบตัิงาน รวมท้งั ควรจดัให้มีการทา กิจกรรมร่วมกนั เช่น การแข่งขนักีฬา จดังานเล้ียงสังสรรค์ และจดัการประชุมสัมมนา ตลอดจนปรับปรุงระบบการ บริหารงาน โดยใชห้ลกัธรรมาภิบาลและระบบคุณธรรมอย่างจริงจงั ท้งัน้ีเพื่อจูงใจให้ขา้ราชการใน หน่วยเกิดความผูกพัน ด้วยวิธีการที่ผู้บังคับบัญชาสามารถตอบสนองความต้องการของข้าราชการ ในหน่วยอย่างเท่าเทียมกัน โดยต้องตระหนักว่า ข้าราชการกับหน่วยงานจะอยู่ร่วมกันโดยถือหลัก ต้องอาศัยการพึ่งพาซึ่งกันและกัน และเมื่อข้าราชการมีความพึงพอใจแล้ว ก็จะมีความจงรักภักดีและ เกิดความผูกพนั ต่อองค์การที่ตนเองสังกดัอยู่เพิ่มมากข้ึนได้ ABSTRACT Title : The Relationship to the Organization Between Personnel of The Directorate of Joint Personnel By : Colonel Surapol Prasong Major Field : Psychology Social Research Advisor : Colonel (Kittipuak Tongterathum) May 2007 This document researches’s title, “The Relationship to the Organization Between Personnel of The Directorate of Joint Personnel”. There is a goal for knowing that at Present Military Officials in Joint Personnel Department. There is the feeling relationship builds in an organization is in which level and what are the important factors. That is influential relationship level due to the building to wrganization be significant to build work ing practice if the personnel in the organization has the loyalty to their organizations thus to exert the strength and the will of their selves for work extremely to the organization by the researcher has supposed of the research’s hypothesis : Military officers and Non-commission officers of Joint Personnel Department, there is the relationship different in the organization, people group that use to do the research, for eample 156 military officials in Joint Personnel Department except officers in the rank of generals this research, getting use the questionnaire is a tool in seeking the primary data, be base data of personnel answering the questionnaire and opinion data about the factors that are influential to the organization’s relationship 8 issues as follows : the progress in the participating in working administration, working character that have the connection is related to the others, working, the attitudes for the colleagues, the system in goodness meditation, income and the welfare and the relationship between the superrior and the inferior when getting manage collect the data has want already the lead the data goes to analyse statistics way by using a program, SPSS for windows for seeking percentage value of base data of people group, average Zmean) and the value the standard deviates (S.D.) and value Z-test, by fix ways statistics significance that the .05 research result level research’s result find that the officials of Joint Personnel Department be the relationship to an organization is in the middle average and whe consider in each of the factors has already find that the factor of the relation between an immediate superior and the inferior the factor of participating in working administration and the character working factor, there is the relationship is in high-level respectively, for the other factors. There is the relationship is in the middle level and when compare with relationship of the officers and NGO already find that by overall image not different perspective which do not agree with the hypothesis but when consider in each the factors meet that there is the relationship to organization different important imply that .05 especial factor of progress level in the work and the attitude factor to the colleagues by NGOs think that, there is the progress in the work and have good attitude to the colleagues more than officers army, for other factors, thinking not different. The suggestion from the education research be the immediate superior must hold to the principles the virtue, morality and the highest leadership be good precedence to the inferior, take care and uphold justice equally by discrimination, should pay attention to the righs of personnel and the welfare which that make the military officials cherished will possession in work practice and should manage the social activities participation, such as sport competition, let a party associates and hold the meeting / the seminar including improve administration work system, by using good governance and virtue system seriously in order that for persuading the officials in the department to build the relationship, with the way that an immediate superior can respond the requirement of the officials egually, by must realize that officials and an organization will coexist by holding principle fo live dependet on each other and when the officials had the contentment already as a result, will have the loyalty and feeling good the relationship to an organization that will be increase.

abstract:

ไม่มี