เรื่อง: ความคิดเห็นต่อการฝึกทักษะอาชีพของทหารกองประจำการสังกัด กรมการทหารช่าง
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. สุมนชัย สานุสันต์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2548
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : ความคิดเห็นต่อการฝึ กทักษะอาชีพของทหารกองประจ าการ
สังกัด กรมการทหารช่าง
โดย : พันเอก สุมนชัย สานุสันต์
สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก
(สุรสีห์ โฉมที)
มิถุนายน ๒๕๕๐
การศึกษาวิจัยเรื่อง ความคิดเห็นต่อการฝึ กทักษะอาชีพของทหารกองประจ าการ สังกัด
กรมการทหารช่าง มีวัตถุประสงค์ ๓ ประการ คือ ๑) เพื่อศึกษาความคิดเห็นต่อการฝึ กทักษะอาชีพ
ของทหารกองประจ าการ หลักสูตรเสริมทักษะ ๒) เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรที่มีผล
ต่อความคิดเห็นต่อการฝึ กทักษะอาชีพของทหารกองประจ าการ หลักสูตรเสริมทักษะ ๓) เพื่อน า
ผลการศึกษาไปเสนอแนะ หรือเป็นแนวทางในการปรับปรุงหลักสูตรเสริมทักษะส าหรับทหารกอง
ประจ าการ โดยท าการศึกษาทหารกองประจ าการที่เข้ารับการฝึ กทักษะอาชีพ ปี พ.ศ. ๒๕๕๐
จ านวน ๑๕๐ นาย จากหน่วยทหาร จ านวน ๕ หน่วย ที่สังกัด กรมการทหารช่าง ผู้วิจัยได้ท าการเก็บ
รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม โดยใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่า
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และท าการทดสอบสมมติฐานด้วย F – test และ t – test ได้ผลการ
ศึกษาดงัน้ี
ขอ้มูลทวั่ ไป ผู้เข้ารับการฝึ กทักษะอาชีพ ส่วนใหญ่มีอายุ ๒๓ ปีข้ึนไป สถานภาพ
โสด ระดับการศึกษาก่อนเข้ารับราชการทหารส่วนใหญ่จบมัธยมศึกษาตอนต้น มีอาชีพรับจ้าง
ทวั่ ไป เหตุผลในการเข้ารับการฝึ กทักษะอาชีพส่วนใหญ่ตอ้งการมีความรู้เพิ่มเฉพาะทาง ผู้เข้ารับ
การฝึ กทักษะอาชีพมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนก่อนเกณฑ์ทหาร อยู่ระหว่าง ๕,๐๐๐ – ๗,๐๐๐ บาท
ส่วนใหญ่มีความคาดหวังในการน าทักษะอาชีพไปประกอบอาชีพหลังจากปลดประจ าการแล้วความคิดเห็นต่อการฝึ กทักษะอาชีพของผู้เข้ารับการฝึ ก พบว่า มีความคิดเห็นอยู่ใน
ระดับเห็นด้วยหรืออยู่ในเกณฑ์สูง เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วย
หรืออยู่ในเกณฑ์สูง ในด้านเครื่องมือ/วสั ดุอุปกรณ์ วิทยากรผูฝ้ึกอบรม/ครูผูส้อน เน้ือหาหลกัสูตร
และสถานที่ฝึ กอบรม ส่วนความคิดเห็นอยู่ในระดับเฉยๆ หรือเกณฑ์ปานกลาง คือด้านระยะเวลา
ในการฝึ กอบรม
ผลการทดสอบสมมติฐาน ปรากฏว่า ปัจจัยที่ไม่มีความสัมพันธ์ต่อความคิดเห็นของ
ทหารกองประจ าการการต่อการฝึ กทักษะอาชีพ คือ ระดับการศึกษา และอาชีพก่อนเข้ารับราชการ
ทหาร ส่วนปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความคิดเห็นของทหารกองประจ าการการต่อการฝึ กทักษะ
อาชีพ คือ เหตุผลในการเข้ารับการฝึ กอบรม สาขาวิชาช่างที่เข้ารับการฝึ กอบรม รายได้ก่อนเข้ารับ
ราชการทหาร และความคาดหวังในการน าทักษะอาชีพไปประกอบอาชีพหลังจากปลดประจ าการ
ส าหรับขอ้เสนอแนะในการวิจยัน้นั ควรมีการส ารวจความคิดเห็นต่อการฝึ กทักษะอาชีพ ของผู้รับ
การฝึ กจากหน่วยทหารอื่นๆ เพื่อให้ได้รับทราบข้อมูลการวิจัยที่หลากหลาย นอกจากน้ีควรมีการ
ท าวิจัยเชิงส ารวจความคิดเห็นของวิทยากรผู้ฝึ กอบรมทักษะอาชีพ ต่อไปABSTRACT
Title : Opinion on Vocational Skill Training of Private
in Engineer Department
By : Colonel Sumonchai Sanusun
Major Field : Social-Psychology
Research Advisor : Group Captain
(Surasee Chomtee)
June 2007
The study of opinion on vocational training of private in Engineer Department was
conducted for three objectives : 1) to find out privates’ opinion on vocational skill training, 2) to
identify factors related to their opinion on vocational skill training, and 3) to use research results
as the guideline to improve the vocational skill training course. Data were collected from 150
trainees in year 2007 as privates from 5 military units in Engineer Department. Questionnaires
were used as the research instrument. Percentage, mean and standard deviation were employed
to describe data. F – test and t – test were used to test hypotheses. The findings were summed up
as follow:
General background information. Ages of trainees were more than 23 years. Most
of them were singles. Educational level before conscription, trainees were completed secondary
school. They were engaged in general employment. Most of trainees’ reason was to gain specific
knowledge in vocational course. Before joining the army, their incomes per month were between
5,000 – 7,000 baht. Most of trainees expected to use vocational skill training as occupation
after retirement.
Opinion on vocational skill training. It was found out that trainees strongly
agreed with this training course. When each opinion component was considered, they strongly agreed with equipments/materials, trainers/instructors, course and training place. Trainees
moderately agreed with the period of training.
Hypotheses testing results. Factors unrelated to opinion on vocational skill training
were the level of education and trainees’ career before conscription. Factors related to this
opinion were the reason for attending the course, vocational branch, their incomes per
month before joining the army and expectation of using vocational skill training as
occupation after retirement. For research recommendation, it should survey the opinion of
privates from other army units to get variable research data. In addition, trainers/instructors
should be surveyed their opinion for next research.
abstract:
ไม่มี