เรื่อง: การจัดการงบประมาณตามระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ศึกษาเฉพาะกรณีสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, นาย สาลี่ สุขเกิด
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2548
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : การจัดการงบประมาณตามระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตาม
ยุทธศาสตร์ศึกษาเฉพาะกรณีส านักงานต ารวจแห่งชาติ
โดย : นายสาลี่ สุขเกิด
สาขาวิชา : การบริหารรัฐกิจ
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก
(เกรียงศักดิ์ หนองปิ งค า)
มิถุนายน ๒๕๕๐
การวิจยัน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบและกระบวนการจัดการงบประมาณ ของ
ส านักงานต ารวจแห่งชาติประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ ว่าเป็ นไปตามหลักการ แนวคิด และ
วิธีการของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานหรือไม่รวมท้งัศึกษาปัญหาอุปสรรคขอ้ขดัขอ้ง
ต่างๆ ที่เกิดข้ึน เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหา และปรับปรุงรูปแบบและวิธีการจัดการ
งบประมาณของส านกังานตา รวจแห่งชาติให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากข้ึน
วิธีด าเนินการวิจัย เป็ นการวิจัยแบบพรรณนา โดยการรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร
และผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวข้องด้านการงบประมาณ และการสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการ
จดัการงบประมาณของส านักงานตา รวจแห่งชาติ จากน้นั นา ขอ้ มูลมาประมวลผล ตรวจสอบ และ
วิเคราะห์หาข้อสรุป และข้อเสนอแนะที่เหมาะสมในการจัดการงบประมาณของส านักงานต ารวจ
แห่งชาติ
ผลการวิจัยพบว่า การจัดการงบประมาณของส านักงานต ารวจแห่งชาติ เป็นไปตาม
หลักการ แนวคิด และวิธีการของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ที่มี
วัตถุประสงค์เพื่อให้งบประมาณเป็ นเครื่องมือส าคัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของรัฐบาล โดย
มุ่งเน้นการใช้จ่ายงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามภารกิจของรัฐ เพื่อ
ประโยชน์สุขของประชาชน ด้วยการให้หน่วยปฏิบัติมีความคล่องตัวและอิสระในการจัดการ
งบประมาณ ภายใต้ขอบเขตความรับผิดชอบในการน าทรัพยากรไปใช้ให้บรรลุผล ตามเป้าหมายเชิง
ยุทธศาสตร์ และสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน ด้วยความเป็ นธรรม และโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ ซึ่งส านักงานต ารวจแห่งชาติได้ด าเนินการจัดท างบประมาณรายจ่ายประจ าปี
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ ตามแนวทาง หลักเกณฑ์ และวิธีการของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น
ผลงานตามยุทธศาสตร์โดยเริ่มต้งัแต่การทบทวนเป้าหมายการให้บริการและตวัช้ีวดัของหน่วยงาน
ให้สอดคล้องเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ การทบทวนกลยุทธ ผลผลิต และ
ตวัช้ีวดัของหน่วยงาน ให้มีความเหมาะสม ชัดเจน ท้งัในส่วนที่เป็นภารกิจที่ต้องดา เนินการตาม
อ านาจหน้าที่ของหน่วยงาน และภารกิจเชิงยุทธศาสตร์ที่ได้รับมอบหมายจากรัฐบาล รวมท้งัการ
ทบทวนค่าใช้จ่ายที่สามารถปรับลดหรือประหยัดได้ อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาพบว่า การจัดการ
งบประมาณของส านักงานต ารวจแห่งชาติยังมีปัญหา อุปสรรคบางประการที่สมควรได้รับการ
ปรับปรุงแก้ไข ได้แก่ ปัญหาการจัดท าแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี และ แผนปฏิบัติราชการประจ าปี
ปัญหาการวิเคราะห์และจัดลา ดับความส าคญั ของคา ของบประมาณ การกา หนดตวัช้ีวดั การจัดทา
ต้นทุนผลผลิต และการติดตามประเมินผล เป็นต้น
ข้อเสนอแนะของการวิจัย ได้แก่ การปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี และแผนปฏิบัติ
ราชการประจ าปี ให้สอดคล้องและเชื่อมโยงกับแผนบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อให้เป็ นกรอบ
แนวทางในการจดั ทา คา ของบประมาณรายจ่ายประจา ปีการทบทวนผลผลิตและตวัช้ีวดั ให้สามารถ
สะท้อนผลการด าเนินงานและผลส าเร็จตามผลผลิตและเป้าหมายการให้บริการที่เป็นรูปธรรม การ
ศึกษาวิจัยการจัดท าต้นทุนผลผลิตที่สะท้อนค่าใช้จ่ายที่แท้จริง เพื่อเป็นกรอบแนวทางในการก าหนด
ต้นทุนผลผลิตและกิจกรรมเพื่อขอรับการจัดสรรงบประมาณ การให้ความส าคัญกับการติดตาม
ประเมินผลการด าเนินงาน รวมท้ังการฝึกอบรมให้ผู้ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจที่ชัดเจน
เกี่ยวกับระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ABSTRACT
Title : Strategic Performance Based Budgeting System : The CaseStudy of
The Royal Thai Police
By : Mr. Saly Sukkerd
Major Field : Public Administration
Research Advisor : Group Captain
(Kriangsak Nongpingkaum)
June 2007
The purpose of this study was to examine the extent to which budget management and
budget preparation procedures of the Royal Thai Police in the fiscal year of B.E. 2550 were in
accordance with principles of strategic performance based budgeting system. This study also
aimed to explore problems and obstacles of the implementation in order to propose improvements
toward more efficient and effective budgeting system of the Royal Thai Police .
To accomplish the purposes of this qualitative study, document analysis by reviewing
the literatures and official documents on budgeting as well as in-depth interview with experienced
officers of the Bureau of the Budget and the Royal Thai Police, were used as research
methodologies. The analysis on existing budget management was used in order to gain insights
and suggestions appropriate for the Royal Thai Police.
The main finding of this study is that budget management of the Royal Thai Police in
the fiscal year of B.E. 2550 is in accordance with principles of strategic performance based
budgeting system, which aim at employing budget as a tool to move forward government’s
policies and strategies. Specifically, strategic performance based budgeting system focuses on
efficiency, effectiveness, transparency, accountability and decentralization of management
authority. In the fiscal year of B.E. 2550, the Royal Thai Police has prepared its budget according to principles and procedures of strategic performance based budgeting system by reviewing its
outputs, service delivery targets, strategies, and performance indicators.
However, some problems and obstacles arise during the implementation of strategic
performance based budgeting system such as difficulties in: formulating the Four Years Agency
Operation Plan and Annual Operation Plan; prioritizing of budget request; developing appropriate
performance indicators; preparing output costing; and establishing monitoring and evaluation
systems.
Five recommendations are proposed for the improvement of the Royal Thai Police as
follows: revising the Four Years Agency Operation Plan and Annual Operation Plan to be linked
with the Nation Administration Plan; reviewing outputs and performance indicators; developing
output costing; emphasizing on monitoring and evaluation systems; and providing trainings about
strategic performance based budgeting system to relevant officers.
abstract:
ไม่มี