Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การบริหารจัดการพื้นที่ทหารตามยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติศึกษาเฉพาะ : การจัดทำแผนพัฒนาชุมชนแบบยั่งยืน ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. สมชาย ชัยวณิชยา
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2548
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : การบริหารจดัการพ้ืนที่ทหารตามยุทธศาสตร์ความมนั่ คงแห่งชาติ ศึกษาเฉพาะ : การจดั ทา แผนพฒั นาชุมชนแบบยงั่ ยืนตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดย : พันเอก สมชาย ชัยวณิชยา สาขาวิชา : หลักสูตรเสนาธิการทหาร รุ่นที่ ๔๘ อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก ( ) วันที่ เดือน พ.ศ.๒๕๕๐ เอกสารวิจัยเรื่องการบริหารจัดการพ้ืนที่ทหารตามยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติ ศึกษาเฉพาะ : การจัดทา แผนพัฒนาชุมชนแบบยงั่ ยืนตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ฉบับน้ี จัดท าข้ึนเพื่อศึกษานโยบายและโครงสร้างการบริหารจัดการพ้ืนที่ที่อยู่ในความปกครองของ กองบัญชาการทหารสูงสุด (บก.ทหารสูงสุด) การวางแผนจัดการการใช้ประโยชน์ที่ดิน ตลอดจน กระบวนการจัดการที่ดินในระดับทอ้งถิ่น การมีส่วนร่วมของชุมชน และสาเหตุที่ทา ให้เกิดปัญหา เช่น การบุกรุกที่ดินของทหาร การไร้ที่ดินทา กิน การใช้ที่ดินไม่เหมาะสม เป็นต้น ท้งัน้ีเพื่อเสนอ แนวทางที่เหมาะสมในการบริหารจัดการพ้ืนที่ที่อยู่ในความปกครองของ บก.ทหารสูงสุด ตาม ยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติด้วยการจัดท าแผนพัฒนาชุมชนแบบยงั่ ยืนตามแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงบรรยายผนวกกับการท ากิจกรรมแล้วน าความรู้ที่ได้ไป ปฏิบัติในรูปแบบของกระบวนการเรียนรู้ที่เป็ นระบบ ในลักษณะของการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมี ส่วนร่วม (Participatory Action Research) เพื่อการแก้ไขปัญหาของคนที่อยู่ในบริบทของชุมชน โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสาร แนวคิดทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และข้อมูลปฐมภูมิจาก การสัมภาษณ์ การสังเกตและการจัดเวทีชาวบ้าน ผลจากการศึกษาพบว่า ปัจจุบนั พ้ืนที่ที่อยู่ในความปกครองของ บก.ทหารสูงสุด โดย ความดูแลและครอบครองของกองการเกษตรและสหกรณ์ ส านักงานทหารพัฒนา หน่วยบัญชาการ ทหารพัฒนา (กกส.สทพ.นทพ.) ในพ้ืนที่อ.ไทรโยคจ.กาญจนบุรียังคงมีปัญหาการบุกรุกพ้ืนที่ในวงกวา้ง โดยเฉพาะการบุกรุกโดยเอกชนและผูม้ีอิทธิพลในพ้ืนที่ นอกจากน้ียงัมีปัญหาการบุกรุก เข้าท าการเพาะปลูกพืชและหาของป่ าเพื่อยังชีพของเกษตรกร ซึ่ ง กกส.สทพ.นทพ. ก็มีความ พยายามในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว รวมถึงความพยายามในการจัดท าแผนการบูรณาการพ้ืนที่และ งานที่ปฏิบัติอยู่ในลักษณะของศูนย์การเรียนรู้และแผนพฒั นาการเพิ่มมูลค่าของที่ดินที่อยู่ในการ ครอบครอง ประจ าปี ๒๕๕๐ โดยสาเหตุที่เกษตรกรบุกรุกพ้ืนที่ฯ เนื่องจากปัญหาเศรษฐกิจที่ท าให้ ชุมชนไม่สามารถพ่ึงตนเอง เกิดปัญหาหน้ีสินล้นพ้นตัว ท้ังสาเหตุจากปัจจัยภายในและปัจจัย ภายนอกชุมชน ท าให้เกิดปัญหาการเลิกจ้างงาน การขาดแคลนเงินลงทุน ปัญหาการท่องเที่ยวชะลอ ตัว เป็นต้น ในการจัดท าแผนพัฒนาชุมชนแบบยงั่ ยืนตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผู้ศึกษา จัดท าร่วมกับศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ต.ท่าเสา มีเกษตรกรร่วมโครงการ ๑๐ ครัวเรือน เพื่อท า เกษตรอินทรีย์มาตรฐาน IFOAM (International Federation of Organic Agriculture Movement) โดยมีมะละกอพันธุ์เซคากิเป็ นพืชน าร่อง ในพ้ืนที่ทุ่ง ๒ จา นวน ๔๐ ไร่แผนพัฒนาชุมชนฯ ได้ ประยุกต์ใช้รูปแบบของแผนธุรกิจ (Business Plan) ที่เอกชนใช้เป็ นแนวทางในการด าเนินธุรกิจ ประกอบด้วย (๑) บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary) (๒) วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมาย (Vision, Mission & Goals) (๓) การวิเคราะห์สถานการณ์ (SWOT Analysis) (๔) การวิจัยตลาดและ วิเคราะห์ตลาด (๕) แผนการตลาด (๖) กลยุทธ์ในการเติบโต (๗) แผนการผลิต (๘) แผนการบริหาร และการจัดเครือข่ายชุมชน (๙) แผนการเงิน และ (๑๐) การจัดการความเสี่ยงและปัญหา โดยสรุป คาดว่าจะมียอดขายรวม ๖,๔๐๐,๐๐๐ บาท ตลอดระยะเวลาเก็บเกี่ยว ๒๔ เดือน และสามารถคืนทุน ในปี ที่ ๒ ของการด าเนินงาน ก าไรจากการด าเนินงาน ศูนย์ฯ จัดสรรเป็ นค่าตอบแทนเกษตรกร เงินทุนหมุนเวียน ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการ และค่าสวัสดิการชุมชน หากแผนพฒั นาชุมชนฯ ที่ได้จัดท าข้ึนน้ีได้มีโอกาสถูกน าไปใช้ให้เกิดผลอย่างเป็ น รูปธรรมแล้ว ผู้ศึกษาหวังว่าจะส่งผลดีท้งัทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอ้ มต่อชุมชน และความ มนั่ คงของชาติสอดคลอ้งกบั สมมติฐานที่ต้งัไว้

abstract:

ไม่มี