เรื่อง: แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการทหาร สังกัดกรมกิจการพลเรือนทหาร
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. ศักดา ดีเดชา
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2548
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : แรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ ในการปฏิบัติราชการของข้าราชการสังกัด กรมกิจการพลเรือน
ทหาร
โดย : พันเอก ศักดา ดีเดชา
สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก
(ชนินทร เฉลิมทรัพย์)
มิถุนายน ๒๕๕๐
การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑)ศึกษาระดับแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ ในการปฏิบัติ
ราชการของข้าราชการ สังกัด กรมกิจการพลเรือนทหาร ๒)ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลและระดับความ
คิดเห็นของข้าราชการสังกัด กรมกิจการพลเรื อนทหาร ๓)ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย
ส่วนบุคคล แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์และปัจจัยที่เกี่ยวกับงาน ๔)ศึกษาตัวแปรอิสระที่สามารถท านาย
แรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ ในการปฏิบัติราชการของข้าราชการสังกัด กรมกิจการพลเรือนทหาร จ านวน
๒๕๗ นาย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้
ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าทดสอบไคว์สแควร์ และค่าสัมประสิทธิ์
สหสัมพนัธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบข้นั ตอน โดยมีนยัส าคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .๐๕
ผลการวิเคราะห์พบว่า
๑. ข้าราชการสังกัด กรมกิจการพลเรือนทหาร มีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีอายุ
ระหว่าง ๓๕ - ๔๗ ปี สถานภาพสมรสมากกว่าสถานภาพโสดและสถานภาพหย่าร้าง มีรายได้เฉลี่ย
รวมต่อเดือน ๕,๐๐๐ – ๒๗,๕๐๐ บาท ประสบการณ์ในการท างาน ๑๓ - ๒๔ ปี และส่วนใหญ่ไม่มี
โรคประจ าตัว
๒. มีความคิดเห็นต่อปัจจัยที่เกี่ยวกับงานในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง
๓. มีแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ ในการปฏิบัติราชการอยู่ในระดับปานกลาง ๔. ปัจจัยส่วนบุคคล อายุวุฒิการศึกษา ระดับช้ันยศ และรายได้มีความสัมพันธ์กับ
แรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ ในการปฏิบัติราชการอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๐๑
๕. ปัจจัยที่เกี่ยวกับงาน มีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ ในการปฏิบัติราชการ
อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๐๑ ยกเว้น ความเสี่ยงในการปฏิบัติงานและความก้าวหน้าใน
การปฏิบัติงานไม่มีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ ในการปฏิบัติราชการอย่างมีนัยส าคัญ
๖. สัมพันธภาพกับเพื่อนร่วมงาน วุฒิการศึกษา ระดบั ช้ันยศและสัมพันธภาพกับ
ผู้บังคับบัญชา สามารถร่วมกันท านายการเกิดแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ ที่จะเกิดได้ ๘๔.๒๐ %
abstract:
ABSTRACT
Title : Achievement Motivation Working of officials of Directorate of Joint Civil
Affairs
By : Colonel Sakda Didecha
Major Field : Social-Psychology
Research Advisor : Group Captain
( Chanintorn Chalermsap )
June 2007
Objective of this research is 1) to study Achievement motivation working level of
officials of Directorate of Joint Civil Affairs or DJCA 2) to study individual factors and opinion
level of DJCA officials 3) to study relations between individual factors, achievement motivation
working and other factors concerned and 4) to study independent factors that are able to predict
achievement motivation working of 257 DJCA officials. Questionnaire is used for data
collecting. Data are analysed by computer program to calculate statistical values namely Mean,
Percentage, Standard Deviation, Chi-square test, Pearson correlation coefficient , Stepwise
multiple regression analysis, at 0.05 statistical significance value .
The study found that
1. Education level of DJCA officials: Bachelors Degree. Age : 35 – 47.
Marriages more than Singles and Divorces . Average income between 5,000 – 27,500 baht per
month, 13 – 24 years of work experience. Most of DJCA officials have no congenital diseases.
2. Overview opinion on work factors in medium level.
3. Achievement motivation working in medium level.
4. Personal factors, age, Education level, Rank and Income have relations with
achievement motivation working at 0.0015 statistical significance value .5. Work factors have relations with achievement motivation working at 0.001
statistical significance value, except work risk. And work achievement has no relations with
achievement motivation working.
6. Relationships with colleagues, education level, rank and relationships with
commanders are able to jointly predict 84.20 % of achievement motivation working.