Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาการติดตามและประเมินผลในการนำระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544มาปฏิบัติใช้สำหรับหน่วยงานในกองบัญชาการทหารสูงสุด

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. วิวิตต์ กาญจนโยธิน
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2548
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : แนวทางการพัฒนาการติดตามและประเมินผล ในการน าระเบียบคณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการก าหนดมาตรฐานการควบคุมภายในพ.ศ. ๒๕๔๔ มาปฏิบัติใช้ ส าหรับหน่วยงานใน กองบัญชาการทหารสูงสุด โดย : นาวาอากาศเอกวิวิตต์ กาญจนโยธิน สาขาวิชา : การทหาร อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก (โสภณ ศิริงาม) มิถุนายน ๒๕๕๐ ปัญหาของการด าเนินการประเมินผลระบบการควบคุมภายใน เนื่องจาก คณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) ได้ออกระเบียบว่าด้วยการก าหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔ ซึ่งก าหนดให้หน่วยงานภาครัฐทุกแห่งต้องด าเนินการเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ๒ ประการ คือ จดัวางระบบการควบคุมภายใน ซ่ึงหน่วยงานต่างๆไดด้า เนินการเสร็จสิ้นไปแลว้ และประเมินผลระบบ การควบคุมภายใน ซึ่งหน่วยงานต้องมีการประเมินผลเป็นประจ าทุกปี และท้งัน้ีหากหน่วยงานใดมี เจตนา/ปล่อยปละละเลยไม่ปฏิบัติตาม โดยสามารถเสนอให้ผู้ก ากับดูแลก าหนดมาตรการที่จ าเป็ น เพื่อให้หน่วยงานไปปฏิบัติ และ/หรือรายงานต่อประธานรัฐสภา เพื่อแจ้งคณะกรรมาธิการของรัฐสภา ที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาด าเนินการตามอ านาจหน้าที่ และแจ้งคณะกรรมาธิการพิจารณางบประมาณ รายจ่ายประจ าปี ซึ่งจากการวิจัยได้รับทราบมาว่า หน่วยงานต่างๆ ใน กองบัญชาการทหารสูงสุด หลายแห่งยังปฏิบัติเกี่ยวกับเรื่องนี้โดย เป็ นเพียงการจัดท าให้แล้วเสร็จตามก าหนดเวลาเท่านั้น มิได้ มีการพิจารณาถึงวิธีการ / ขั้นตอนเนื้อหาสาระข้อมูลที่ใช้รายงานว่าจะถูกต้องครบถ้วนเหมาะสม เพียงพอ และเป็ นไปตามที่ระเบียบก าหนดหรือไม่แต่อย่างใด จึงอาจ ท าให้ข้อมูลและการด าเนินการ เกี่ยวกับเรื่องไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงานเท่าที่ควรจะเป็ น ท้งัน้ีแมห้ น่วยงานจะไดจ้ดัให้มีการ อบรมจากเจ้าหน้าที่ของส านักงานตรวจเงินแผ่นดินก็ตาม หน่วยงานก็ยังมีความสับสน ไม่เข้าใจในหลักการ / ข้นั ตอน /วิธีการในการจดั ทา และผูบ้ริหารต่างๆ ส่วนใหญ่มิได้ให้ความสนใจหรือให้ ความส าคญั เกี่ยวกบั เรื่องน้ีรวมท้งัเครื่องมือเครื่องใชต้ ่างๆ เช่น คู่มือค าแนะน าต่างๆ ที่หน่วยงานกลาง (คตง. หรือ กรมบญั ชีกลาง) จดั ทา และเผยแพร่อยู่น้นั ยากต่อการเขา้ใจและไม่เอ้ือต่อการที่จะ น าไปสู่การปฏิบัติได้ ดงัน้นั จึงทา ให้หน่วยงานต่างๆ เกิดความสับสน ไม่เขา้ใจในหลกัการ/ ข้นั ตอน/วิธีการในการจดั หา นอกจากน้ีเรื่องน้ีก็เป็นเรื่องที่หน่วยงานต่างๆ ไม่คุน้ เคย เพราะเป็น เรื่องที่กา หนดให้มีข้ึนเป็นคร้ังแรกในภาครัฐ ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น คือ เมื่อมีผู้ตรวจสอบภายนอก เช่น เจ้าหน้าที่ของส านักงาน การตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) มาติดตามตรวจสอบแล้วพบว่าหน่วยงานท าไม่ถูกต้อง/ไม่ครบถ้วน หน่วยงานก็อาจถูกลงโทษตามที่ระเบียบก าหนดได้ และอีกประการหนึ่งถ้าหน่วยงานสามารถจัดระบบ การควบคุมภายในให้เป็นไปตามระเบียบอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ตามหลักการที่ควรจะเป็น ย่อมเป็น เรื่องดีที่จะช่วยให้หน่วยงานสามารถปฏิบัติงานได้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ก าหนดไว้และ ยงัอาจช่วยในการป้องกนั /ลดการทุจริตคอร์รัปชนั่ ไดด้ว้ย ผู้วิจัยมีความเห็นว่า เรื่องน้ีเป็นเรื่องของภาคบังคับที่หน่วยงานต้องด าเนินการอย่าง ต่อเนื่องโดยตลอด ดงัน้นั จึงควรตอ้งมีการคน้ หาแนวทางการปรับปรุงแกไ้ขปัญหาในการ ดา เนินการเรื่องน้ี ซ่ึงผูว้ิจยัมีแนวคิดเกี่ยวกบั สิ่งที่จะช่วยสนับสนุนให้หน่วยงานสามารถดา เนินการ เกี่ยวกับการควบคุมภายในได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดประสิทธิผล ด้วยความรวดเร็ว คือ การจัดให้มีแนวทาง/คู่มือการด าเนินงานตามที่ระเบียบก าหนดโดยมีความชัดเจน เข้าใจง่าย และ สามารถน าไปสู่การปฏิบัติได้ รวมท้งัตอ้งจดัให้มีการเผยแพร่ให้หน่วยงาน ในกองบัญชาการทหาร สูงสุด อย่างทวั่ ถึง เพื่อให้มีการนา แนวทางไปใชเ้ป็นแนวทางปฏิบตัิอย่างจริงจงัต่อไป ดงัน้นั ผูว้ิจยั จึงทา การวิจยัเกี่ยวกบั เรื่องน้ีดว้ยวตัถุประสงคข์องการวิจยัที่วา่ เพื่อหาแนวทางการดา เนินงานฯ เรื่องน้ีที่จะสามารถแกไ้ขปัญหาและช่วยให้งานน้ี สามารถดา เนินไปไดด้ว้ยดภีายในระยะเวลาที่ ก าหนด ผลการวิจัย จากการที่เรื่องน้ีเป็นเรื่องส าคญั เพราะระเบียบ คตง. มีการกา หนด บทลงโทษ และการควบคุมภายในเป็นเรื่องที่ทุกคนในองค์กรที่จะตอ้งร่วมกนัจดัให้มีข้ึน เพื่อให้ การปฏิบัติงานบรรลุวัตถุประสงค์ ๓ ด้าน คือ ด้านความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการ ปฏิบัติงาน ด้านความเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินบัญชี และด้านการปฏิบัติตามกฎหมายและ กฎระเบียบที่เกี่ยวขอ้ง อีกท้งัการควบคุมภายในที่ดีย่อมช่วยส่งเสริมสนบั สนุนให้องคก์ร สามารถ บรรลุเป้าหมายได้เป็นอย่างดี และยังช่วยในการป้องกัน/ลดการทุจริตคอร์รัปชนั่ ดว้ย หลงัจากการ วิจัย ทา ให้สามารถสรุปไดว้่า การดา เนินงานเกี่ยวกบั เรื่องน้ีของหน่วยงานในสังกดั กองบญั ชาการ ทหารสูงสุด มีปัญหาในการดา เนินการ และยงัตอ้งมีการพฒั นาการดา เนินงานเรื่องน้ีให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง ซึ่งผลการวิจัยสามารถบ่งบอกถึงความคิดเห็นโดยรวมจากกลุ่มบุคลากร ซึ่ง เป็นผู้เกี่ยวข้อง (ทุกภาคส่วนขององค์กร) สรุปว่าแนวทางการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาการประเมินการ ควบคุมภายใน เพื่อให้หน่วยงานสามารถด าเนินการประเมินผลได้ตามที่ระเบียบและมาตรฐาน ก าหนด เป็นไปในแนวทางเดียวกัน อันก่อให้เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างสูงสุด มี ๒ วิธี คือ ๑. การจัดให้มีคู่มือ/แนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการประเมินผลระบบการควบคุม ภายในตามระเบียบ คตง. ที่เป็นฉบับที่สามารถน าไปสู่การปฏิบัติได้โดยง่าย ส าหรับหน่วยงานใน สังกัด กองบัญชาการทหารสูงสุด ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ เพื่อให้หน่วยงานสามารถน าไปพิจารณา ปรับใช้ในการด าเนินการเรื่องน้ีต่อไป ๒. การจัดให้มีการฝึ กอบรม/สัมมนา เกี่ยวกับการประเมินระบบการควบคุมภายใน ตามระเบียบ คตง. ให้แก่บุคลากรทุกระดบั ช้นั โดยบรรจหุ ลกัสูตรการอบรม/สัมมนาเรื่องน้ีลงเป็น หลกัสูตรพ้ืนฐานที่บุคลากรทุกคนตอ้งไดร้ับการอบรมABSTRACT Title : Development Approach in Monitoring and Evaluatingthe Implementation of the State Audit Commission & Regulation Standard on Internal Control B.E. 2544 forSupreme Command By : Group Captain Wiwit Kanjanayotin Major Field: Military Science Research Advisor: Colonel (Sophon Siringam ) June 2007 Problem in Implementing the Evaluation Internal Control The State Audit Commission issued regulation on setting internal control standard in 2001, requiring all state agencies to implement internal control system, which was completed, and annually evaluate internal control system. The regulations empower a supervisor to establish necessary measures to enforce the implementation and report through President of the Parliament to parliamentary committee concerned for further actions and inform Committee on Budget. The study indicates that units in Supreme Command simply try to implement the requirement in time without considering method or step, content and data used in report whether they are correct, complete or appropriate according to the requirement, and this lack of seriousness could make the whole process not as beneficial as it should have been. Despite their personal undergoing training held by Officer of the Auditor General, the units are still confused and have no clear understanding in principle or step or method of implementation, and most to the units’ executives do not give interest on emphasis to this matter. Besides, handbooks and the Comptroller General’s Department are difficult to understand and not conducive to implantation, casing difficulties among implementing agencies since this is the first time the practice is introduced. Possible effects When external auditors, such as officials from Officer of the Audition General, visit a unit and discover that the unit’s implementation is not correct or complete, the unit could be subjected to punishment for infraction. On the other hand, if a unit could systemize its internal control acceding to the regulations and principle, the practice would help the unit achieve its objectives and goals and also prevent or reduce corruption. The Researcher’s Opinion Use of internal control is a requirement which must be carried out continuously. It is necessary for them to resolve any problem interests in its implementation the researcher believes that clear and practical guidelines or handbooks as well as widespread publicity among all Supreme Command units will help enhance the efficiency and practicality of internal control. The researcher has undertaken the study with objective in finding a way to implement internal control and resolving problems associated with its implementation so that can function effectively within the prescribed timeframe. Results of the study Implementation of internal control in Supreme Command has some problems, and there needs to be further development. Opinions from personnel involved in implementation process that there are two methods to help enhance its implementation, namely: 1) Publishing of handbooks 2 guidelines on internal control implementation that give clear and practical introduction that readily applied by Supreme Command units. 2) Holding training or seminar on evaluation of internal control for all levels of personnel and working the training or seminar a requisite for all personnel in Supreme Command.

abstract:

ไม่มี