สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute
NDSI- RASS
ระบบสืบค้นงานวิจัยและวิชาการ
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
คู่มือใช้งาน
Logout
Search
ค้นหา
Category
แสดงตามประเภท
แสดงทั้งหมด
งานวิจัย
งานวิชาการ
งานนวัตกรรม
เอกสารประกอบการศึกษาตามหลักสูตร
อื่น ๆ
แสดงตามปี
ปี พ.ศ. 2567
ปี พ.ศ. 2566
ปี พ.ศ. 2565
ปี พ.ศ. 2564
ปี พ.ศ. 2563
ปี พ.ศ. 2562
ปี พ.ศ. 2561
ปี พ.ศ. 2560
ปี พ.ศ. 2559
ปี พ.ศ. 2558
ปี พ.ศ. 2557
ปี พ.ศ. 2556
ปี พ.ศ. 2555
ปี พ.ศ. 2554
ปี พ.ศ. 2553
ปี พ.ศ. 2552
ปี พ.ศ. 2551
ปี พ.ศ. 2550
ปี พ.ศ. 2549
ปี พ.ศ. 2548
ปี พ.ศ. 2547
ปี พ.ศ. 2546
แสดงตามหน่วยงาน
แสดงทั้งหมด
สปท.
วปอ.สปท.
วสท.สปท.
สจว.สปท.
ศศย.สปท.
รร.ตท.สปท.
รร.ชท.สปท.
สศท.สปท.
แสดงตามสภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์
แสดงทั้งหมด
Social-Psychology
Science and Technology
Economics
Strategy
Politics
Military
Education
Diplomacy
Information
Environment
not specified
แสดงตามหลักสูตรต่าง ๆ
แสดงทั้งหมด
หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร
หลักสูตรผู้นำพอเพียงด้านความมั่นคง
หลักสูตรเสนาธิการทหาร
หลักสูตรเสนาธิการร่วม
หลักสูตรนายทหารอาวุโส บก.ทท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง
หลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ผู้บริหาร
หลักสูตรนักยุทธศาสตร์
หลักสูตร รร.ตท.สปท.
หลักสูตร รร.ชท.สปท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่งคง สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานิ (สจว.สพฐ.
อื่น ๆ
Readed :
024478
Today :
000199
Total :
047639
Download :
000060
เรื่อง:
ความล้มเหลวในการเลือกตั้งของผู้สมัครสมาชิกวุฒิสภาที่เป็นทหารนอกประจำการในจังหวัดนนทบุรี
Download
Open PDF
E-Book
หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. กฤช ปี่ทอง
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2548
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : ความลม้เหลวในการเลือกต้งัของผูส้ มคัรสมาชิกวุฒิสภาที่เป็นทหารในจังหวัดนนทบุรี โดย : พันเอก กฤช ปี่ ทอง สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก (จักรพงษ์ นวลชื่น ) กรกฎาคม ๒๕๕๐ ประชาชนเป็นเจ้าของอ านาจในการปกครองบริหารประเทศ ในระบอบประชาธิปไตย แต่การจะให้ประชาชนท้งัประเทศ เขา้ไปประชุมพร้อมกนั เพื่อกลนั่ กรองกฎหมาย และควบคุมการ ท างานของรัฐบาลย่อมท าไม่ได้ จ าเป็นต้องเลือกสมาชิกวุฒิสภาไปเป็นตัวแทน รัฐธรรมนูญ ก าหนดให้สมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกต้งัมีหนา้ที่มากข้ึนคือ เป็นผูม้ีอา นาจเสนอแต่งต้งับุคคล ให้ด ารงต าแหน่งในองค์กรอิสระ ที่เป็นองค์กรตามรัฐธรรมนูญ ตลอดจนมีอ านาจถอดถอนผู้ด ารง ต าแหน่งสูง ที่มีพฤติกรรมส่อไปในทางทุจริต ประชาชนจึงควรให้ความสนใจกบัการเลือกต้งั สมาชิกวุฒิสภา เป็นกรณีพิเศษ เนื่องจากไม่ใช่เป็นการเลือกต้งัที่ประชาชนเพิ่งไดร้ับ แต่เป็นการ เลือกต้งัสมาชิกสภาที่มีระเบียบวิธี มีกระบวนการและข้นั ตอนการปฏิบตัิที่เป็นเรื่องใหม่ โดยห้าม ไม่ให้ผู้สมัครสมาชิกวุฒิสภาสังกัดพรรคการเมือง และห้ามไม่ให้ท าการรณรงค์หาเสียงในการ เลือกต้งั เพื่อให้สมาชิกวุฒิสภาเป็นอิสระจากการเมือง มีความเป็นกลางเพื่อให้เป็นองคก์รกลนั่ กรอง ตรวจสอบอย่างแท้จริง จึงท าให้เห็นถึงความจ าเป็นของความเป็นอิสระของสมาชิกวุฒิสภาชัดเจน ยิ่งข้ึน โดยเฉพาะบทบาทในดา้นการกลนั่ กรองกฎหมายไม่ให้เอ้ือประโยชน์ต่อคนกลุ่มใดกลุ่มหน่ึง แต่ให้เป็นประโยชน์ของส่วนรวม บทบาทในด้านการให้ความเห็นชอบและถอดถอนการด ารงต าแหน่ง ของข้าราชการระดับสูง ตลอดจนนักการเมืองที่ประพฤติมิชอบ ทุจริตคดโกงต่อบา้นเมือง อีกท้งั บทบาทอื่นๆ ในการให้ความเห็นชอบต่าง ๆ ซ่ึงบทบาทท้งัหลายดงักล่าวจา เป็นอย่างยิ่งที่วุฒิสมาชิกตอ้ง เป็นอิสระ ปลอดจากการครอบงา จากพรรคการเมืองหรือนกัการเมือง ไมเ่ช่นน้นัวุฒิสมาชิกก็จะไม่ สามารถแสดงบทบาททางการเมืองให้เกิดประโยชน์ต่อชาติบ้านเมืองและประชาชนโดยรวมได้ แต่เมื่อ พิจารณาในทางปฏิบตัิแลว้เป็นเรื่องยากทจี่ ะห้ามมิให้การเลือกต้งัสมาชิกวุฒิสภาไมเ่ป็นการเมือง เพราะไม่สามารถห้ามคนใกลช้ิดหรือญาติของนกัการเมืองลงสมคัรรบั เลือกต้งัสมาชิกวุฒิสภาได ้ เป็นที่ทราบ กนั ทวั่ ไปว่าการปกป้องประเทศชาติศาสน์กษตัริย์การชว่ ยเหลือประชาชนรวมท้งัการพฒั นาประเทศ ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นหน้าที่โดยตรงของทหาร และหากทหารลงสมัครสมาชิกวุฒิสภาแล้วน่าจะ ไดร้ับการเลือกต้งั และท าหน้าที่ได้อย่างดีเนื่องจาก เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ มีประสบการณ์ใน การปกครองนอกจากน้นัยงัมีความอดทนอตุ สาหะและมีความซื่อสัตย์ มีความเป็นอิสระ คุณลักษณะ ดงักล่าวน่าจะส่งเสริมให้ทหารไดร้ับเลือกต้งั แต่พบว่าการเลือกต้งัสมาชิกวุฒิสภา จงัหวดันนทบุรี มีทหารสมคัร ๖ คนแต่ไม่ไดร้ับเลือกต้งัเลย การวิจยัคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเชิงส ารวจโดยได้ศึกษาจาก เอกสาร ทฤษฎีและงานวิจัยต่างๆ โดยสร้างแบบสอบถามและเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างในจังหวัดนนทบุรีจ านวน ๑๒๐ คน โดยมี วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึงสาเหตุที่ผูส้ มคัรที่เป็นทหารลงสมคัรรับเลือกต้งัสมาชิกวุฒิสภา จงัหวดั นนทบุรี เมื่อ ๑๙ เมษายน ๒๕๔๙ แลว้ไม่ไดร้ับเลือกต้งั และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ เลือกต้งัสมาชิกวุฒิสภา โดยต้งัสมมุติฐานในการศึกษาที่จะทดสอบไว้คือ ประชาชนไม่เลือกผู้สมัคร เลือกต้งัที่เป็นทหาร เนื่องจากการแนะนา ตนไม่สนองตอบผลประโยชน์ใกลต้วัของประชาชน ความ เสียสละอดทนที่เป็นลกัษณะเฉพาะของผูส้ มคัรรับเลือกต้งัที่เป็นทหารไม่ไดเ้ป็นปัจจยัส าคญั ต่อการ ตัดสินใจเลือกสมาชิกวุฒสภาของประชาชน ผลการวิจัย พบว่าทหารไม่มีความเหมาะสม ที่จะเป็นตัวแทนประชาชนในการท าหน้าที่ สมาชิกวุฒิสภาเนื่องจากไม่เข้าถึงประชาชน มีความคิดเห็นว่าสมาชิกวุฒิสภามีการศึกษาระดับใดก็ได้ เพราะใครๆ ก็สามารถตรวจสอบรัฐบาลและกลนั่ กรองกฎหมายได้ผสู้ มคัรสมาชิกวุฒิสภาที่เป็นทหาร ส่วนใหญ่เป็นข้าราชการบ านาญที่มีอายุมากมักท าอะไรเชื่องช้า ไม่ทันต่อเหตุการณ์ และท าอะไรไม่ ทันสมัย ประชาชนมีทัศนคติต่อทหารที่ไม่ดีคือ ไม่มีความรู้และประสบการณ์ทางการเมืองการปกครอง และทางกฎหมาย ประชาชนใช้กระบวนการตัดสินใจในการเลือกสมาชิกวุฒิสภา คือการได้รับข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การหาทางเลือก การก าหนดเกณฑ์ทางเลือกและการตัดสินใจเลือกโดยใช้ข้อมูลใน เอกสารแนะน าตัวของผู้สมัครในการตัดสินใจเลือกจากผลงานและประสบการณ์ในการท างาน ในด้าน การใชว้ิธีเลือกต้งัประชาชนใชว้ิธีเลือกต้งัโดยหาขอ้มูลจากการแนะนา ตวัของผูส้ มคัรแต่ละคนแล้วน า ข้อมูลต่างๆมาพิจารณาเลือกโดยใช้เหตุผลในการตัดสินใจเลือกจาก ผู้สมัครมีความซื่อสัตย์มีนโยบายดี มีชื่อเสียง มีความรู้มีการศึกษาดีและช่วยเหลือเป็นธุระให้กับประชาชน จะเห็นได้ว่าคุณลักษณะของ ทหารคือการเสียสละและการอดทนไม่เป็นเหตุผลที่ประชาชนใช้ตัดสินใจเลือก ข้อเสนอแนะ การวิจยัน้ีช้ีให้เห็นจุดเด่นจุดดอ้ยของผูส้ มคัรรับเลือกต้งัสมาชิกวุฒิสภาที่เป็น ทหารได้อย่างชัดเจน หากผู้สมัครที่เป็นข้าราชการทหารหรือผู้สมัครอื่น ๆ จะสามารถน าจุดด้อยไปเป็น โอกาสพัฒนาปรับปรุงตนเอง และนา จุดเด่นไปส่งเสริมและพฒั นาให้ดียิ่งข้ึน ในการสมคัรรับเลือกต้งัใน คราวต่อไปได้
abstract:
ไม่มี