สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute
NDSI- RASS
ระบบสืบค้นงานวิจัยและวิชาการ
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
คู่มือใช้งาน
Logout
Search
ค้นหา
Category
แสดงตามประเภท
แสดงทั้งหมด
งานวิจัย
งานวิชาการ
งานนวัตกรรม
เอกสารประกอบการศึกษาตามหลักสูตร
อื่น ๆ
แสดงตามปี
ปี พ.ศ. 2567
ปี พ.ศ. 2566
ปี พ.ศ. 2565
ปี พ.ศ. 2564
ปี พ.ศ. 2563
ปี พ.ศ. 2562
ปี พ.ศ. 2561
ปี พ.ศ. 2560
ปี พ.ศ. 2559
ปี พ.ศ. 2558
ปี พ.ศ. 2557
ปี พ.ศ. 2556
ปี พ.ศ. 2555
ปี พ.ศ. 2554
ปี พ.ศ. 2553
ปี พ.ศ. 2552
ปี พ.ศ. 2551
ปี พ.ศ. 2550
ปี พ.ศ. 2549
ปี พ.ศ. 2548
ปี พ.ศ. 2547
ปี พ.ศ. 2546
แสดงตามหน่วยงาน
แสดงทั้งหมด
สปท.
วปอ.สปท.
วสท.สปท.
สจว.สปท.
ศศย.สปท.
รร.ตท.สปท.
รร.ชท.สปท.
สศท.สปท.
แสดงตามสภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์
แสดงทั้งหมด
Social-Psychology
Science and Technology
Economics
Strategy
Politics
Military
Education
Diplomacy
Information
Environment
not specified
แสดงตามหลักสูตรต่าง ๆ
แสดงทั้งหมด
หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร
หลักสูตรผู้นำพอเพียงด้านความมั่นคง
หลักสูตรเสนาธิการทหาร
หลักสูตรเสนาธิการร่วม
หลักสูตรนายทหารอาวุโส บก.ทท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง
หลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ผู้บริหาร
หลักสูตรนักยุทธศาสตร์
หลักสูตร รร.ตท.สปท.
หลักสูตร รร.ชท.สปท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่งคง สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานิ (สจว.สพฐ.
อื่น ๆ
Readed :
025729
Today :
000200
Total :
047640
Download :
000061
เรื่อง:
ความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธศาสนากับการแก้ไขปัญหาหนี้สินศึกษาเฉพาะกรณี : ข้าราชการทหารชั้นประทวน สังกัดศูนย์ต่อสู้ป้องกันภัยทางอากาศ กองทัพบกที่ 2
Download
Open PDF
E-Book
หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. ลือเดช แสงชาติ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2548
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : ความสัมพนัธ์ระหว่างพระพุทธศาสนากบัการแกไ้ขปัญหาหน้ีสิน ศึกษาเฉพาะกรณี: ขา้ราชการทหารช้นั ประทวน สังกดัศูนยต์ ่อสู้ป้องกันภยัทางอากาศกองทพั บกที่๒ โดย : พันเอก ลือเดช แสงชาติ สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก (อุนฤทธิ์ นวลอนงค์) มิถุนายน ๒๕๕๐ การศึกษาเรื่อง ความสัมพนัธ์ระหว่างพระพุทธศาสนากบัการแก้ไขปัญหาหน้ีสินของ ขา้ราชการทหารช้ันประทวน สังกัดศูนย์ต่อสู้ป้องกันภัยทางอากาศ กองทัพบกที่ ๒ เพื่อศึกษาถึง ปัจจัยที่เป็นมูลเหตุที่ท าให้ข้าราชการทหาร มีหน้ีสินจนสร้างความเดือดร้อนให้กับตนเองและ ครอบครัว ส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการในหน่วยงาน โดยน ามูลเหตุน้ันมา เปรียบเทียบกับหลักธรรมค าสอนในทางพระพุทธศาสนา ว่าตรงกับหลักธรรมใด ก็แสดงว่าปัญหา หน้ีสินมีความสัมพนัธ์กบั หลกัธรรมน้นั เพื่อเสนอแนวทางการแกไ้ขต่อไป พุทธศาสนามีหลักค าสอนที่เน้นการพึ่งตนเอง และการช่วยเหลือผู้อื่น โดยใช้ สติปัญญา นา ศรัทธา คือไม่สอนให้เชื่อสิ่งใดง่าย ๆ แนวทางปฏิบตัิคือ ทา ตนให้เป็นคนดีส าหรับ ฆราวาสประกอบด้วย ทาน ศีล ภาวนา ส าหรับนักบวชคือ ศีล สมาธิ ปัญญา ศีล : เป็ นเครื่อง ช าระกายและวาจาให้สะอาดบริสุทธิ์ สมาธิ : ช าระจิตใจที่คิดนึกให้สงบเป็นปกติ ปัญญา : รู้แจ้ง เห็นจริงชา ระกิเลสให้หมดสิ้น หัวใจของพุทธศาสนาได้แก่ การละชั่ว (รักษาศีล) การท าความดี (ปฏิบัติธรรม) การท าใจให้สะอาด ผ่องใส (ภาวนา) ส าหรับหลักธรรมที่เกี่ยวข้องกับมูลเหตุของการเป็นหน้ีคือ อบายมุข ๖ ได้แก่ การดื่มน ้าเมา อนั เป็นต้นเหตุของการขาดสติขาดความย้งัคิด การเที่ยวกลางคืน เป็ นสาเหตุของ การง่วงนอน อาจบกพร่องในการท างานในเวลากลางวัน เนื่องจากไม่ได้พักผ่อน อาจเกิดโรค ได้ง่าย การดูการละเล่น ท าให้เสียเวลาในการประกอบอาชีพ การเล่นการพนัน เป็ นเหตุให้เสียทรัพย์ได้ง่าย การคบคนชั่วเป็ นมิตร อาจถูกชักจูงไปในทางทุจริต เกียจคร้านการงาน ท าให้ ไม่มีงานท า และไม่มีรายได้ ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยที่มีผลสูงสุดที่ก่อให้เกิดปัญหาหน้ีสิน คือ รายได้และ รายจ่ายรายเดือนของข้าราชการทหารไม่สมดุลกัน ผู้ที่มีรายได้น้อย ไม่มีอาชีพเสริม ไม่มีงานอดิเรก รองรับ และเกี่ยวข้องกับอบายมุข มักได้รับความเดือดร้อนจากการมีหน้ีสิน ผูท้ ี่มีรายได้มากก็มี รายจ่ายมาก เพราะเกี่ยวขอ้งกบัอบายมุข ทา ให้มีหน้ีสินมาก ไดร้ับความเดือดร้อนเช่นเดียวกนั อบายมุข ๖ จึงเป็ นปัจจัยหลักที่เป็ นมูลเหตุส าคัญ ที่ท าให้ข้าราชการทหาร สังกัด ศูนย์ต่อสู้ป้องกันภัยทางอากาศ กองทัพบกที่ ๒ มีหน้ีสิน จึงควรงดเวน้ จากอบายมุขท้งัปวง และ น้อมน าหลักค าสอนในทางพระพุทธศาสนา เกี่ยวกับคุณธรรมสู่ความส าเร็จมาปฏิบัติควบคู่กันไป ได้แก่ อิทธิบาท ๔ คือ ฉันทะ (ความพอใจ) วิริ ยะ (ความเพียร) จิตตะ (ใจจดจ่อ) วิมังสา (ใคร่ครวญ) จะท าให้การพัฒนาคนและองค์การ สู่จุดมุ่งหมายเดียวกันได้
abstract:
ไม่มี