Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวโน้มการรวมประเทศเกาหลี

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. ไพรุจน์ คำชุม
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2548
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : แนวโน้มการรวมประเทศเกาหลี โดย : พ.อ.ไพรุจน์ ค าชุม สาขาวิชา : การเมือง อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก ( ) วัน เดือน ปี การวิจัยเรื่อง แนวโน้มการรวมประเทศเกาหลี เป็นส่วนหนึ่งของหมวดวิชาที่ ๒ เอกสาร วิจัยหลักสูตรวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที่ ๔๘ โดยผู้วิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทด้าน การเมืองและความมนั่ คงของสหรัฐอเมริกาในยุคหลังสงครามเย็นที่มีต่อการรวมเกาหลีเหนือและเกาหลี ใตเ้ป็นประเทศเดียวกัน รวมท้งัศึกษาพฒั นาการและวิเคราะห์ความเป็นไปไดใ้นการรวมประเทศเกาหลี สันติภาพและความมนั่ คงในคาบสมุทรเกาหลี มีความส าคญั ต่อประเทศในภูมภิาคเอเชีย ตะวันออกและภูมิภาคใกล้เคียง ซึ่งรวมถึงประเทศไทยที่ต้งัอยู่ห่างจากคาบสมุทรเกาหลีประมาณ ๓,๐๐๐ ไมล์ การรวมประเทศเกาหลีจึงมีนยัส าคญั ท้งัในเรื่องความมนั่ คงและระบบความสัมพนัธ์ ระหว่างประเทศด้วย โดยผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพและก าหนดสมมุติฐานไว้ ๒ ข้อ คือ ข้อแรก การคงอยู่ของกองก าลังทหารสหรัฐอเมริกาในเกาหลีใต้ เป็นปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการรวม ประเทศเกาหลี และขอ้สอง การรวมประเทศเกาหลี หากเกิดข้ึนโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงทาง การเมืองในเกาหลีเหนือแล้ว จะมีลักษณะพิเศษที่เป็น หนึ่งประเทศสองระบบ ผลการวิจยั สนบั สนุนสมมุติฐานที่ต้งัไวท้ ้งัสองขอ้ ดงักล่าว ตามกรอบทฤษฎี ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่ใช้ในการวิเคราะห์ ๒ ทฤษฎี คือ ทฤษฎีผลประโยชน์แห่งชาติ (National Interest) และทฤษฎีดุลแห่งอ านาจ (Balance of Power) ท้งัน้ีผูว้ิจยัคิดว่าแนวโนม้ สถานการณ์ในคาบสมุทรเกาหลีน่าจะพฒั นาไปในทิศทางที่ดีข้ึน สิ่งส าคญั คือ ทุกฝ่ายตอ้งมีความ จริงใจและความเชื่อถือซึ่งกันและกัน (Build Trust) ในการแก้ปัญหา โดยสภาวะการณ์ที่ทุกฝ่ ายได้ ประโยชน์จากการเจรจา (Win-Win Situation) จะเป็นปัจจัยที่น าไปสู่ความส าเร็จในที่สุด

abstract:

ABSTRACT Title : Tendency of Korean Reunification By : Colonel Pairut Kamchoom Major Field : Politics Research Advisor : Colonel ( ) Date Month Year This research on “ Tendency of Korean reunification” is conducted as part of the research paper for the Joint Staff College class 48. The purposes of this research are firstly to study the roles of the US in political and security issues in the post Cold War towards the reunification of North Korea and South Korea; and secondly to study the development and to analyze the possibility of the Korean reunification. Peace and security in the Korean peninsula is vital to countries in East Asia region and the adjacent regions including Thailand which is situated 3000 miles away from the Korean peninsula. Korean reunification is significantly importance for security and international relation system. The methodology used in this research is done through qualitative research under two hypotheses. The first hypothesis is that the presence of the US military forces in South Korea is considered as an obstacle to Korean reunification. The second hypothesis is that Korean reunification without political change in North Korea will have special characteristic as “one country with two systems”. Under the international relations theory framework applied for the analysis of this research, namely the ‘‘national interest theory’’ and the ‘‘balance of power theory’’, the result of this research has supported both mentioned hypotheses. This research has led to the expectation that the situation in the Korean peninsula has a tendency to develop to a more secure and promising direction. In addition, the most important factor for the success of Korean reunification is that all participants and involved actors need to be sincere and trustworthy in handling and solving this problem under ‘win-win situation’ which is beneficial to all participants.