Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ทัศนคติผู้เข้าร่วมการฝึกคอบร้าโกลด์ต่อรูปแบบและการจัดการฝึก

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. พิทวัส วุฑฒิชาติ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2548
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : ทัศนคติผู้เข้าร่วมการฝึ กคอบร้าโกลด์ ต่อรูปแบบและการจัดการฝึ ก THE ATTITUDE OF THE COBRA GOLD EXERCISE PARTICIPANTS IN PATTERN AND THE EXERCISE ARRANGEMENT โดย : พันเอก พิทวัส วุฑฒิชาติ สาขาวิชา : การทหาร อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก (อภิชาต แก้วประสพ) มิถุนายน ๒๕๕๐ เอกสารวิจยัฉบบั น้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ทัศนคติของผู้เข้าร่วมการฝึ กคอบร้าโกลด์ ฝ่ ายไทย ที่มีต่อรูปแบบการฝึ ก การจัดการฝึ ก และการฝึ กคอบร้าโกลด์ เพื่อน าความคิดเห็นดังกล่าวมา วิเคราะห์ว่ายังมีความจ าเป็นต่อกองทัพไทยหรือไม่ รวมท้งัวิเคราะห์รูปแบบการฝึ กคอบร้าโกลด์ที่น่าจะ เหมาะสมส าหรับสภาวะปัจจุบัน และสอดคล้องกับภารกิจหลักของกองทัพไทย มีปัจจัยใดบ้างที่มี อิทธิพลต่อการฝึ ก และเพื่อศึกษาสภาพปัญหาและอุปสรรคที่เกิดข้ึนจากการฝึกไม่ว่าจะเป็น ด้านบวก หรือด้านลบก็ตาม เพื่อที่จะได้น าไปสู่กระบวนการพัฒนาการจัดการฝึ ก วางแผนรูปแบบการฝึ กให้ เหมาะสมกับความต้องการของเหล่าทัพต่างๆ ให้บรรลุเป้าประสงค์การฝึ ก อย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล โดยการวิจัยคร้ังน้ีเป็นการรวบรวมขอ้ มูลและวิเคราะห์ขอ้ มูลจากแบบสอบถาม (Questionnaire) กลุ่มเป้าหมายเป็นฝ่ ายเสนาธิการ และนายทหารสัญญาบัตรระดบั พนั ตรีข้ึนไปหรือ ช้นัยศเทียบเท่า จากทุกเหล่าทัพ และที่สังกัดอยู่ในกระทรวงกลาโหม ที่เคยเข้าร่วมการฝึ กคอบร้าโกลด์ ท้งัชายและหญิงจา นวนท้งัสิ้น ๒๕๓ คน และน าข้อมูลดังกล่าวไปวิเคราะห์โดยการถอดรหัสและผ่าน กระบวนการทางสถิติจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผลการวิจยัคร้ังน้ีพบว่า ภูมิหลังของกลุ่มประชากรตัวอย่างที่แตกต่างกันไม่เป็นปัจจัยที่ มีผลกระทบกับทัศนคติที่มีต่อการฝึ กคอบร้าโกลด์ ส่วนใหญ่มีทัศนคติให้ความส าคัญต่อการฝึ กฯ ในระดับปานกลางถึงมาก มีการเตรียมตัวก่อนเข้ารับการฝึ กในระดับปานกลาง มีความคาดหวังที่จะ ได้รับความรู้และประสบการณ์จากการฝึ กฯ ในระดับปานกลางถึงมาก และคิดว่าได้รับประโยชน์ จากการที่มีมิตรประเทศนอกเหนือจากประเทศสหรัฐฯ เข้าร่วมการฝึ กฯด้วย โดยส่วนใหญ่มี ทศันคติในระดบั ปานกลางถึงมากเช่นเดียวกนั นอกจากน้ีผลการวิจัยยังได้แสดงให้ทราบถึงระดับ ทัศนคติของผูบ้ งัคบั บญั ชาช้ันสูง ที่ให้ความส าคัญต่อการฝึ กคอบร้าโกลด์ในระดับมาก และมี ปัจจัยส าคัญที่เกี่ยวข้องกับการเข้าร่วมการฝึ กในลกัษณะยิ่งฝึกมากคร้ังยิ่งไดร้ับประโยชน์มากข้ึน ซึ่ง ควรเป็ นปัจจัยหนึ่งที่ใช้พิจารณาคัดเลือกผู้เข้ารับการฝึ ก โดยพิจารณาผู้ที่เคยเข้าร่วมการฝึ กคอบร้าโกลด์ มาแล้วมาเข้าร่วมการฝึ กอีก ข้อเสนอแนะการวิจัยครั้งนี้ สรุปได้คือ ควรให้ทุกเหล่าทัพมีส่วนร่วมกับการก าหนด รูปแบบการฝึ กที่เหมาะสมตามภารกิจหลักของเหล่าทัพ ตารางการฝึ กของทหารสหรัฐฯ ควรให้ เป็นไปตามแผนงานที่วางไว้ การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้องต่างๆ ควรกระท าทันที และไม่ควรให้ เกิดข้ึนซ้ าอีกในการฝึกคร้ังต่อๆไป ควรมีการจัดการฝึ กอบรม ผู้เข้ารับการฝึ กทุกสายงาน เพื่อเพิ่มเติม ความรู้ความเข้าใจให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ในระหว่างการฝึ กมากข้ึน ควรมีการประสานงานระหว่าง เหล่าทัพและผู้บังคับบัญชาระดับสูงเพื่อหารือ แนวความคิดการจัดการฝึ กในปี ถัดไปอย่างเป็นรูปธรรม ให้เพื่อเกิดความเข้าใจนโยบายการฝึ กที่แน่นอน มีความชัดเจนของนโยบายการฝึก ควรมีการปรับ วัฒนธรรมองค์กร ให้ทันสมัยต่อสากล เกิดความโปร่งใส มีระเบียบวินัยในการปฏิบัติหน้าที่อย่างเคร่งครัด ของก าลังพลทุกเหล่าทัพ และมีการท างานในรูปแบบใหม่ เชิงรุก กล้าคิด กล้าท า โดยไม่ต้องยึด รูปแบบเดิม เพื่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีของกองทัพไทยต่อมิตรประเทศที่เข้าร่วมการฝึ ก

abstract:

ABSTRACT Title : THE ATTITUDE OF THE COBRA GOLD EXERCISE PARTICIPANTS IN PATTERN AND THE EXERCISE ARRANGEMENT By : Colonel Pitawat Wuthichat Major Field : Military Research Advisor : Group Captain (Apichart Kaewprasop) June 2006 The objective of this research is to study attitude of Thai participants toward Cobra Gold Exercise. The suggestions are use in evaluating whether the Cobra Gold Training is necessary to The Royal Thai Armed Forces. Furthermore, the research will enable The Royal Thai Armed Forces adjust the training method to be up to date, appropriate for current situation and harmonize with The Royal Thai Armed Forces major mission. The research also study on nature of problems and identified positive or negative factors which influence to the exercise and using them to develop the proper and effective training mission for all services in the future. This research has been collected and analyzed questionnaires from the 253 sample who are Staff, Officer from Major position or equivalent and above from all services under command of the Ministry of Defense. All of them had previously participated in the Cobra Gold Training Mission. The data were decoded and computerized by SPSS program. The research found that different backgrounds of participants were not affecting their attitude toward the Cobra Gold Exercise. Most of them pay high attention to the training. They prepared themselves before the training session in medium level but they expected to gain knowledge and experience from the training highly. They believed that the training would be more benefit if the other countries joined the training which they also gave moderate to high score. In addition, the result of this research reflected attitude of high level commanders which they gave high priority training to the Cobra Gold Exercise. The research also found that frequency of training was affected to efficiency and effectiveness of the training. The more they practice the more they get benefit from it so these results help us in reconsidering sending them to The Cobra Gold Exercise again in the future. Suggestion from this research We conclude that all services should have opportunity to determine the training method to be suited for The Royal Thai Armed Forces major mission. We should strictly focus and pay attention on timing and joint training schedule. In case there is any problem, it needs to be solved immediately. We also should prevent such problem will not happen again in the next exercise. We should train some participants from various offices prior the exercise so that they will have opportunities to practice their job and enhance their experiences.