เรื่อง: การศึกษาการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพประจำปีของข้าราชการและลูกจ้างในสังกัดกองบัญชาการทหารสูงสุด กรณีศึกษาหน่วยงานที่ตั้งอยู่ในพื้นที่กองบัญชาการทหารสูงสุดแจ้งวัฒนะ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. พิเชษฐ์ อาภรณ์พัฒนพงศ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2548
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : การศึกษาการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพประจ าปี ของข้าราชการและลูกจ้าง
ในสังกัดกองบัญชาการทหารสูงสุด
: กรณีศึกษาหน่วยงานที่ต้งัอยูใ่ นพ้ืนที่กองบญั ชาการทหารสูงสุด แจง
้
วฒั นะ
โดย : นาวาอากาศเอก พิเชษฐ์ อาภรณ์พัฒนพงศ์
สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก …………………………….
(กิตติภัค ทองธีรธรรม)
มิถุนายน ๒๕๕๐
การวิจยัคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ ๓ ประการ คือ ๑) วิเคราะห์สถานการณ์การเกิดโรคของ
ข้าราชการและลูกจ้างในสังกัดกองบัญชาการทหารสูงสุด ๒) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัย
ส่วนบุคคล พฤติกรรมสุขภาพ กับการเกิดโรค ๓) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยส่วนบุคคล
กับพฤติกรรมสุขภาพ
กรอบในการศึกษาคร้ังน้ีตัวแปรอิสระที่น ามาศึกษาคือปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ เพศ
ช้นัยศ และพฤติกรรมสุขภาพ ไดแ้ก่ การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์ และการไม่ออกก าลังกาย
ส าหรับตัวแปรตามได้แก่ ผลการตรวจพบโรค และโรคที่ตรวจพบ ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคไขมันในเลือดสูง
โรคความดันโลหิตสูง โรคอ้วน โรคหัวใจขาดเลือด และโรคตับอักเสบ
กลุ่มตวัอย่างในการศึกษาคร้ังน้ี คือข้าราชการและลูกจ้างสังกัดกองบัญชาการทหารสูงสุด
เฉพาะหน่วยที่ต้งัแจง้วฒั นะในปีพ.ศ. ๒๕๔๘ - ๒๕๔๙ ที่ได้มารับการส ารวจสุขภาพประจ าปี และสามารถ
น าข้อมูลมาใช้ในการวิจัยได้จ านวน ๑,๖๑๑ และ ๒,๙๔๗ คน ตามล าดับ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวม
ข้อมูลแบบปฐมภูมิคือแบบสอบถาม และการแปลผลของแพทย์จากแบบสอบถาม ผลการตรวจร่างกาย
เบ้ืองตน้และผลทางห้องปฏิบัติการ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมส าเร็จรูป SPSS for Windows หาค่า
ร้อยละ และค่าไคร์สแควร์(
2
)และน าผลที่ค านวณได้ไปเปรียบเทียบกับระดับค่าที่ก าหนดไว้ คือ α= ๐๐๕ผลจากการวิจัย พบว่า ก าลังพลส่วนใหญ่จะมีอายุระหว่าง ๔๑ - ๕๐ ปี เป็นเพศชาย
มากกว่าเพศหญิง มากกว่าครึ่งหนึ่งเป็นนายทหารสัญญาบัตร ส าหรับพฤติกรรมทางสุขภาพที่ถือเป็น
ปัจจัยเสี่ยง พบว่าส่วนใหญ่ไม่เคยสูบบุหรี่ แต่ยังคงดื่มแอลกอฮอล์อยู่ และมักจะออกก าลังกายไม่
สม ่าเสมอ หรือไม่ออกก าลังกายเลย
ข้อมูลของก าลังพลที่เป็นโรค พบว่าส่วนใหญ่จะมีอายุระหว่าง ๔๑ - ๕๐ ปี เป็นเพศชาย
มากกว่าเพศหญิง มากกว่าครึ่งหนึ่งเป็นนายทหารสัญญาบัตร ส าหรับพฤติกรรมทางสุขภาพที่ถือเป็น
ปัจจัยเสี่ยง พบว่าส่วนใหญ่ไม่เคยสูบบุหรี่ แต่ยังคงดื่มแอลกอฮอล์อยู่ และมักจะออกก าลังกายไม่
สม ่าเสมอ หรือไม่ออกก าลังกายเลย ซึ่งข้อมูลที่ได้เป็นไปในแนวทางเดียวกับข้อมูลของก าลังพลส่วนใหญ่
ชนิดของโรคที่ตรวจพบในก าลังพล เรียงล าดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ โรคเบาหวาน
โรคไขมนั ในเลือดสูง โรคความดนั โลหิตสูง โรคอว้น โรคหัวใจ และโรคตบัอกัเสบ ซ่ึงตรงกันท้งัปี
๒๕๔๘ และ ปี ๒๕๔๙
แม้ว่าผู้เป็นโรค ในปี ๒๕๔๙ จะมีจ านวนลดลงจากในปี ๒๕๔๘ แต่เมื่อเปรียบเทียบ
กบั ในอดีต พบว่า กา ลงัพลในปีที่ทา วิจยั มีความผิดปกติหรือเป็นโรคเพิ่มข้ึนจากปีก่อนหนา้ แสดงว่า
การเกิดโรคของก าลังพล มีแนวโนม้ ที่จะเพิ่มสูงข้ึนในปีต่อๆไป
ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่ออุบัติการณ์การเกิดโรค ได้แก่ ก าลังพลวัยกลางคน เป็ นเพศชาย
มีช้นัยศสัญญาบัตร ส าหรับพฤติกรรมสุขภาพที่มีผลต่ออุบัติการณ์การเกิดโรคของก าลังพลจากการวิจยัคร้งัน้ี
ได้แก่ ก าลังพลส่วนใหญ่ยังคงดื่มแอลกอฮอล์และไม่ออกก าลังกายจึงเป็นไปตามสมมติฐานที่ก าหนด
ปัจจัยส่วนบุคคลและพฤติกรรมสุขภาพที่มีผลต่อโรคที่ตรวจพบ พบว่าส่วนใหญ่มี
ความสัมพันธ์กัน ยกเว้นในบางปัจจัยในบางปีและปัจจัยที่ไม่มีความสัมพันธ์กันได้แก่ ปัจจัยการ
ออกก าลังกายกับโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ดังน้ันบางปัจจัยจึงไม่เป็ นไปตาม
สมมติฐานที่ก าหนด
ส าหรับสมมติฐานที่หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล กับพฤติกรรมสุขภาพ พบว่า
ก าลังพลที่มีอายุมากกว่า เป็นเพศชาย มีช้นัยศสัญญาบตัร มีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพท้งัดา้นการสูบบุหรี่
การดื่มแอลกอฮอล์ และการไม่ออกก าลังกาย มากกว่าก าลังพลที่มีอายุน้อยกว่า เป็นเพศหญิง และมีช้นัยศ
ประทวน หรือลูกจ้างจึงเป็นไปตามสมมติฐานที่ก าหนด แต่อย่างไรก็ตาม พบว่าในปี๒๕๔๙ กา ลงัพลช้นัยศ
ประทวนและลูกจ้าง มีพฤติกรรมเสี่ยงในด้านการสูบบุหรี่ และ ดมื่ แอลกอฮอลม์ ากข้ึน
ข้อเสนอแนะจากการศึกษาวิจัย คือ ควรเพิ่มเติมรายละเอียดของคา ถามเกี่ยวกบั ปัจจยั
สุขภาพให้มากข้ึน เช่น ปริมาณแอลกอฮอล์ที่ดื่ม ปริมาณการสูบบุหรี่ ชนิดของกีฬาที่ออกก าลังกาย
และระยะเวลาที่ใชใ้นการออกกา ลงักายในแต่ละคร้ัง นอกจากน้ีควรเพิ่มเติมคา ถามเกี่ยวกบั ปัจจยัอื่นๆ
ที่อาจเกี่ยวข้องไว้ด้วย เช่น ภาวะเครียดจากที่ท างานและที่บ้าน การนอนหลับพักผ่อนที่ไม่เพียงพอ
ชนิดของอาหารที่บริโภค พฤติกรรมการบริโภค ประวตัิการเจ็บป่วยของโรคเร้ือรังและไม่ติดต่อ
ดังกล่าวของคนในครอบครัว
abstract:
ABSTRACT
Title : A STUDY OF THE YEARLY HEALTH CHANGED IN THE
GOVERNMENT SERVANTS OF THE SUPREME COMMAND
HEADQUARTERS : CASE STUDY IN CHAENGWATTANA AREA
By : Group Captain Pichet Arpornpattanapong
Major Field : Socio-psychology
Research Advisor: Colonel
(Kitthipuck Thongteerathm)
June 2007
Three main objectives of the study were 1) to analyzed diseases situation in the
government servants of the Supreme Command Headquarter; 2) to find thecorrelationbetween
the personal factors, the health behaviors and the chronic and non-communicable diseases; and
3) to find the correlationbetween the personal factors andthehealth behaviors.
Independent variables were the personal factors (age, sex, rank), and the health
behaviors (cigarette smoking, alcoholic drinking, non-exercise). Dependent variables were the
chronic and non-communicable diseases. Diseases in this study were Diabetes Mellitus,
Hyperlipidemia, Hypertension, Obesity, Ischemicheart disease,and Hepatitis.
The population consisted of 1,611 and 2,947 government servants of the Supreme
Command Headquarters in Chaengwattana area in the year 2005and 2006respectively. Primary
data were collected from population by using questionnaire. Primary data and laboratory results
were interpreted by medical doctors. Percentage and chi-square (
2
) were used for data
analyzed at α= 0.05by using SPSS program.Results showed that the most of the population were 41-50 years old, male, and
commissioned officers. The health behaviors showed that the most of the population were noncigarette smoking but still alcoholic drinking and non-exercise.
Although the result showed the number of patients decreased in the year 2006, but
when compared to the past many years the trend of abnormal or chronic and non-communicable
diseases increased in the government servants.
The most of the patients were 41-50 years old,male, and commissioned officers. The
health behaviors showed that the most of the subjects were non-cigarette smoking but still
alcoholic drinking and non-exerciselike the most of the population.
The personal factors affected the incident of the diseases were middle-aged, male,
and commissioned officers. Health behaviorsaffected the incident of the diseases were alcoholic
drinking and non-exercise.
The correlation between the personal factors, the health behaviors and the chronic
and non-communicable diseases showed significant different in some factors for both in the year
2005 and 2006. There were no correlation between non-exercise factor and Diabetes Mellitus
and Hypertension.
The correlation between the personal factors and the health behaviors were
significant different andshowed older aged, male, and commissioned officers had more risk in
the health behaviors than younger aged, female, and non-commissioned officersor employees.
However, in the year 2006the research showed non-commissioned officers and employeeshad
more risk factors in alcoholic drinking and non-exercisethan in the year 2005.
The suggestions were 1) should add the details of the questions such as the volume
of alcoholic drinking and cigarette smoking, kinds of exerciseand duration of each exercise;and
2) should add the questions about the other factors affected the health such as stress, inadequate
rest, kind of food eating, eating behaviors, and familial history of the chronic and noncommunicable diseases.